พจนานุกรมธาตุ

ธาตุ
ธาตุ อรรถ ตัวอย่าง หมวดธาตุ

กร

กเร, กรเณ

กระทำ

กุพฺพติ, กฺรุพฺพติ, กยิรติ สงฺขโรติ อภิสงฺขาโร.
ในกัมมรูปเป็น กรียติ, กริยฺยติ, กยฺยติ, กยิรติ.
ในเหตุกัต. กาเรติ, การยติ, การาเปติ, การาปยติ.

ภู (อ), ตน (โอ ยิร)

กร

วเธ

ฆ่า

กีโณติ, กิณุเต หึสตีติ กรุณา ความสงสาร.
กิโณนฺติ เอตฺถาติ กาโร เรือนจำ.
กรเภทโก โจรผู้ทำลายเรือนจำแล้วหนีไป.
ตณฺหงฺกโร.

สุ (ณุ ณา อุณา)

กร

กรเณ

ทำ

กโรติ กยิรติ กุพฺพติ กฺรุพฺพติ; กมฺม-กรียติ กริยฺยติ กยิรติ กยฺยติ; การิต-กาเรติ การยติ การาเปติ การาปยติ; กโต กุรุมาโน กโรนฺโต; การณํ กิริยา กฺริยา กรณํ กตฺตา ฯเปฯ

  • กยิรติ นี้ เป็นได้ทั้ง กตฺตุ และ กมฺม. 
    กตฺตุ ดังบาลีว่า ปุริโส กมฺมํ กยิรติ ชายทำการงาน. 
    กมฺม ดังบาลีว่า กุฏิ เม กยิรติ อเทสิตวตฺถุกา กุฎีมีวัตถุยังไม่ได้แสดงแล้ว อันข้าพเจ้าย่อมทำ หรือ ข้าพเจ้าทำกุฎีมีวัตถุอันยังมิได้แสดงแล้ว. กตฺตุ ยิร ปัจ. กมฺม วณฺณวิปริยย คือ กลับอักษร - ส.
  • การณํ  เหตุ, การณ์, 'ทำผล' วิ. อตฺตโน ผลํ กโรตีติ การณํ - ส. กร ประกอบด้วย ตุํ ตฺวา ปัจ. เป็นต้น เป็นรูปดังนี้ กาตุํ กตฺตุ กาตเว กาเรตุ กตฺวา กตฺวาน กาตูน กริตฺวา กริตฺวาน กจฺจ อธิกจฺจ กรีย กรียาน ปุรกฺขตฺวา กาเรตฺวา ฯเปฯ - ส.
    อา. ปทกฺขิณํ กจฺจ ทำประทักษิณแล้ว '=ปทกฺขิณํ กตฺวา.' อธิกจฺจ ทำให้ยิ่ง '=อธิกํ กตวา' ไม่ใช่ อธิกิจฺจ - ส.

ส. แสดงบทมาลาโดยพิสดาร ด้งต่อไปนี้ :-

แจก กุพฺพติ
วตฺ. – กุพฺพติ กุพฺพนฺติ, กุพฺพสิ กุพฺพถ, กุพฺพมิ กุพฺพม; กุพฺพเต กุพฺพนฺเต, กุพฺพเส กุพฺพเวฺห, กุพฺเพ กุพฺพเมฺห. ฯเปฯ

แจก กโรติ
วตฺ. – กโรติ กโรนฺติ, กโรสิ กโรถ, กโรมิ-กุมฺมิ กโรม-กุมฺม; กุรุเต กุพฺพนฺเต, กุรุเส กุรุเวฺห, กเร กรุเมฺห.
ปญฺ. – กโรตุ-กรุตุ กโรนฺตุ, กโรหิ กโรถ, กโรมิ-กุมฺมิ กโรม-กุมฺม; กุรุตํ กุพฺพนฺตํ, กรสฺสุ-กรุสฺสุ กุรุโวฺห, กเร กุพฺพามเส.
สตฺ. – กเร-กเรยฺย กเรยฺยุํ, กเรยฺยาสิ กเรยฺยาถ, กเรยฺยามิ กเรยฺยาม; กุพฺเพถ กุพฺเพรํ, กุพฺเพโถ กุพฺเพยฺยโวฺห กเร-กเรยฺยํ กเรยฺยาเมฺห,
ปโร. – กร กรุ, กเร กริตฺถ, กร กริมฺห กริถ กริเร, กริตฺโถ กริโวฺห, กริ กริเมฺห.
หีย. – อกรา อกรุ, อกโร อกรตฺถ-อกตฺถ-อกโรถ, อกร-อกํ, อกรมฺหา-อกมฺห; อกตฺถ อกตฺถุํ, อกุรุเส อกรวหํ, อกรึ-อกรํ อกรมฺหเส.
อชฺ. – อกรี-กรี-อกริ-กริ-อกาสิ  อกรุํ-อกรึสุ-อกํสุ-อกาสุํ, อกโร อกริตฺถ-อกาสิตฺถ, อกรึ-กรึ-อกาสึ อกริมฺหา-อกาสิมฺหา; อกรา อกรุ, อกรุเส อกริวหํ, อกร อกริเมฺห.
ภวิ. – กริสฺสติ กริสฺสนฺติ, กริสฺสสิ กริสฺสถ, กริสฺสามิ กริสฺสาม; กริสฺสเต กริสฺสนฺเต, กริสฺสเส กริสฺสเวฺห, กริสฺสํ-กสฺสํ กริสฺสาเมฺห.
อา. กสฺสํ ปุริสกิจฺจานิ ข้าพเจ้าจักทำกิจของชาย ท.-ส.

อีกอย่างหนึ่ง แปลง กร เป็น กาห (สำหรับ ภวิ.) แจกดังนี้ :-
กาหติ กาหนฺติ, กาหสิ กาหถ, กาหามิ กาหาม; กาหิติ กาหินฺติ, … กา.-อกริสฺสา อกริสฺส, …

แจก กยิรติ
วตฺ. – กยิรติ กยิรนฺติ, กยิรสิ กยิรถ, กยิรามิ กยิราม; กยิรเต กยิรนฺเต, …
ปญฺ. – กยิรตุ กยิรนตุ, …
สตฺ. – กยิรา-กุยิรา กยิรุํ, …
อา. กุมฺภิมฺหิ ปญฺชลึ กุยิรา วาตญฺจาปิ* ปทกฺขิณํ - ส. ฯเปฯ

(ธาตุนี้มีที่ใช้มากนัก จึงนำมาไว้ตามที่ท่านแจก)

* ในวิธุรชาดก ชาตกฏฺฐกถา 10/265 เป็น กยิรา วายสํ วาปิ.

ตน (โอ ยิร)
[ธป]

กร

กรเณ

ทำ

ปกโรติ อุปกโรติ ปฏิกโรติ ปฏิสงฺขโรติ สงฺขาโร ปริกฺขาโร ฯเปฯ

(ธาตุนี้ ตั้งแยกมาจากธาตุต้น เพื่อให้เห็นเฉพาะที่ประกอบด้วย อุปสัค นิบาต)

  • ปกโรติ  ก. 'ทำทั่ว,' แต่งขึ้น, ปรุงขึ้น, ร้อยกรอง [ป+กร]  รูปนาม ปกรณํ ปกรณ์, คัมภีร์.
  • อุปกโรติ  ก. อุดหนุน, เกื้อกูล, อุปการ [อุป+กร]. รูปนาม อุปกาโร อุปกรณํ.
  • ปฏิกโรติ  ก. ตอบแทน, 'ทำคืน' [ปฏิ+กร] รูปนาม ปฏิกาโร.
  • ปฏิสงฺขโรติ  ก. ซ่อมแซม, ทำให้ดีดังเก่า [ปฏิ+สํ+กร] รูปนาม ปฏิสงฺขรณํ ปฏิสังขรณ์ 'กลับแต่งขึ้น.'
  • สงฺขาโร  น. สังขาร, 'ปรุงขึ้น, แต่งขึ้น' [สํ+กร]. 
  • ปริกฺขาโร  น. บริกขาร, 'ทำรอบ' '[ปริ+กร] แปลได้ 3 อย่าง:-
    1.  คู, 'เครื่องล้อม' '=ปริวาโร' ดังบาลีว่า นครปริกฺขาเรหิ สุปริกฺขิตฺตํ แวดล้อมเป็นอย่างดี (ครบครัน) ด้วยเครื่องแวดล้อมเมือง ท. 
    2. เครื่องประดับ, อลังการ '=อลงฺกาโร' ด้งบาลีว่า รโถ เสตปริกฺขาโร รถมีเครื่องประดับขาว. 
    3. เครื่องใช้เล็กๆ น้อยๆ ของบรรพชิต เช่นบาตร เป็นต้น (หรือดังที่เรียกว่า บริกขาร 8 คือ สบง จีวร สังฆาฏิ บาตร มีดตัดเล็บ เข็ม รัดประคด ผ้ากรองน้ำ) '=สมภาโร' ด้งบาลีว่า ปพฺพชิเตน ชีวิตปริกฺขารา สมุทาเนตพฺพา* บริกขารสำหรับชีวิต อันบรรพชิตควรรวบรวมไว้ - ส.

* สมุทาเนตพฺพาติ สมาหริตพฺพาติ อตฺโถ.

ตน (โอ ยิร)
[ธป]

กรฑิ
[กรฑิ, กรณฺฑิ]

ภาชเน

แบ่ง, จำแนก

กรณฺฑิตพฺโพ ภาเชตพฺโพติ กรณฺโฑ ผอบ.

ภู (อ)

กรณฺฑ

ภาชนตฺเถ

เป็นภาชนะ

กรณฺฑ ป. นป. 

  1. ตะกร้า, หีบ, ผอบ, ขวด (ตลับ เช่น รัตนกรัณฑ์) อช.317 
  2. คราบงู, กรณฺฑกกณฺณิกํ กุเฎ ปกฺขิปิตฺวา ธมฺอ. 5/16 (ในที่นี้ฉบับยุโรปเป็น กรณฺฑ-). ปุริโส อหึ กรณฺฑา อุทฺธเรยฺย คนพึงฉุดงูออกจากคราบ ที. 1/99. กรณฺฑ=อหิกญฺจุก คราบแห่งงู ทีอ. 1/275.
    กรณฺฑก ป. ตะกร้า, หีบ, ผอบ, ขวด. นานารตฺตานํ ทุสฺสานํ ทุสฺสกรณฺฑโก หีบแห่งผ้าอันย้อมสีต่างๆ ท. มชฺ. 1/382.
    วิลิวกรณฺฑก ตะกร้าจักสาน, หีบจักสาน. ทีอ. 1/275.
ภู (อ)
[ธป]

กรณฺฑิ
[กรฑิ, กรณฺฑิ]

ภาชเน

แบ่ง, จำแนก

กรณฺฑิตพฺโพ ภาเชตพฺโพติ กรณฺโฑ ผอบ.

ภู (อ)

กล

เขปคตีสุ

สิ้นไป, ซัดไป, ทิ้ง, ขว้าง; ไป, ถึง, บรรลุ

กาเลติ สตฺตานํ อายุ เขเปตีติ กาโล,
อภิณฺหํ คจฺฉติ วา กลิตพฺโพ สงฺขาตพฺโพติ กาโล เวลา.
กาลยติ ชีวิตํ เขเปติ วินาเสตีติ กาโล ความตาย.
กโต กาโล เยนาติ กาลกโต ผู้ตาย.

จุร (เณ ณย)

กล

คณเน

นับ, คำนวณ

กลํ นาคฺฆติ โสฬสึ, กลา โสฬสโม ภาโค ส่วนที่ 16.
กลฺโล, กลฺลํ เวลาเช้า, ใกล้รุ่ง.

ภู (อ), จุร (เณ ณย)

กล

สทฺเท

เปล่งเสียง

กลติ.

ภู (อ)

กล

สงฺขาเน

คำนวณ, นับ

กลติ กลา กาโล

  • กลา  ส่วน, เสี้ยว (=อวยโว=โสฬสาทิภาโค ส่วน 16 เป็นต้น) - ส.
  • กาโล  กาล, เวลา, 'นับ' วิ. กลิตพฺโพ สงขาตพฺโพติ กาโล - ส. (ดูต่อไป*)

* คือดูธาตุต่อจากนี้: กล เขเป (อปฺปกรเณ), กล คติ; สงฺขาเนสุ

ภู (อ)
[ธป]

กล

เขเป (อปฺปกรเณ)

ให้สิ้นไป, ให้น้อยลง, ให้หมดสิ้น

กาเลติ กาลยติ กาโล

  • กาล หมาย 2 นัย:-
  1. กาล, เวลา, ('ให้อายุสิ้นไป' ดังบาลีว่า กาโล ฆสติ ภูตานิ เวลากินสัตว์ ท.
  2. มัจจุ, ความตาย 'ให้ชีพลิ้นไป' ดังบาลีว่า กาลกโต อันความตายทำแล้ว หรือ ตายแล้ว (กาเลน มจุจุนา กโต นาสิโต กาลกโต) - ส. (ดู มร)
จุร (เณ ณย)
[ธป]

กล

คติ; สงฺขาเนสุ

ไป, ถึง, เป็นไป; คำนวณ, นับ

กาเลติ กาลยติ กลา กาโล

จุร (เณ ณย)
[ธป]

กล

กลิเล

ทึบ, ตัน, ไม่ทะลุ

ภู (อ)
[ธป]

กลทิ

โรทนาวฺหาเน

ร้องไห้; ร้องเรียก

กลนฺทติ.
กลนฺทโก กระรอก, กระแต.

ภู (อ)

กลทิ

อวหาเน; โรเทน จ

เรียก; ร้องไห้

กลนฺทติ กลนฺทโก

  • กลนฺทโก  กระรอก, กระแต.
ภู (อ)
[ธป]

กลว

ภเย

กลัว

กลพฺยติ, กลวฺยติ.

ทิว (ย)

กลห

กุจฺฉเน

ติเตียน, นินทา, กล่าวหา

กลหติ.
กลโห.
กลิยติ ปรมิยติ อเนน สูรภาวนฺติ กลโห. การทะเลาะวิวาท, การชกต่อย.

ภู (อ)

กลห

กุจฺฉเน

เกลียด, ชัง

กลหติ กลโห

  • กลโห ความทะเลาะ, วิวาท, 'น่าเกลียด.'
ภู (อ)
[ธป]

กลิทิ

โรทเน

ร้องไห้, คร่ำครวญ

กลินฺทติ.

ภู (อ)