พจนานุกรมธาตุ

ธาตุ
ธาตุ อรรถ ตัวอย่าง หมวดธาตุ

กิร

วิกฺเขปวิกิเร

ซัดไป; กระจัดกระจาย, เรี่ยราย.

ถ้ามีอัพยยบทเป็นบทหน้า มีอรรถเป็นอเนก.
กิรติ กงฺขํ วิกฺขิปติ อปเนตีติ กิโต.
ปรทุกฺขํ กีรตีติ กรุณา. ความสงสาร.
กิรติ ปตฺถรติ วิกฺขิปติ วา ติมิรนฺติ กิรโณ รํสี. รัศมี, แสงสว่าง.
โสเภตุเมตฺถ รตนานิ วิกิรียนฺตีติ กิริตํ มงกุฎ.
กีรตีติ กิราโต, สวโร. คนป่า, คนร้าย.
สงฺกิรติ, สํกิณฺโณ ปะปนกัน.
ปกิรติ, ปกิณฺณา. เรี่ยรายไป.
อากิณฺณา ลุทฺธกมฺเมหิ เกลื่อนกล่น.
ปติกิรติ, อุปกิรติ. เบียดเบียน, ฆ่า, ตัด.

ภู (อ)

กิร

วิกิรเณ

โรย, โปรย, เรี่ยราย, กระจาย

กิรติ 

ธาตุนี้ รูปสัมฤทธิเฉพาะตัวธาตุ มีที่ใช้น้อย ที่พบโดยมาก มักประกอบอุปสัค แลใช้มากในหนังสือทั้งปวง จักนำมาพอสมควร ดังต่อไปนี้.

อพฺภุกฺกิรติ (อภิ เป็น อพภ+อุ+กิร] ก. ราดลงเฉพาะ, ขว้างไป, สาดไป, ซัดไป. 

  • กุณฺฑิกาหิ อุทกํ คเหตฺวา ปายาสํ อพฺภุกฺกิริตฺวา ถือน้ำด้วยกุณฑี ท. แล้วราดข้าวปายาสลง ชาอ. 8/294. 
  • …มหาสุทสฺสโน…ทกฺขิเณน หตฺเถน จกฺกรตนํ อพฺภุกฺกิริ มหาสุทัสสนะ ทรงขว้างไปซึ่งจักรรัตนะ ด้วยพระหัตถ์เบื้องขวา ที. 2/213  (ฉบับไทยเป็น อพฺพุก. ยุโรปเป็น อพฺภุก. 

เรื่อง อพฺพ. อพฺก. ในธาตุนี้ น่าวินิจฉัยอยู่ เท่าที่ข้าพเจ้าได้พบเห็น เป็นดังต่อไปนี้)

อพฺพ. พบรูปเดียวแต่ที่เป็น อพฺโพกิณฺณ ซึ่งมีอรรถปฏิเสธ แลคนละความกับ อพฺภุกกิร จะเป็นรูป อพฺพุกกิร, อพฺโพกิร หรือ อพฺโพกฺกิร (ที่ถูกต้อง) เป็นต้น ยังไม่พบเลย.

อพฺภ. พบแต่ที่เป็นรูป อพฺภุกฺกิร, อพฺโภกิร หรือ อพฺโภกฺกิร เป็นต้น ซึ่งมีอรรถไม่ปฏิเสธ แลคนละความกับ อพฺโพกิณฺณ ที่เป็นรูป อพฺโภกิณฺณ (ที่ถูกต้อง) ยังไม่พบเลย.

อพฺโพกิณฺณ [อ+วิ+อว+กิร] กค. ไม่เกลื่อนกล่น, ไม่คละ, ไม่เจือปน, ไม่มีอะไรคั่น-สลับ, ล้วน. (ที่แยกเช่นนั้น เทียบ อพฺโพหาริก=อ+วิ+อว+หร. หรือ อพฺโพจฺฉินน=อ+วิ-อว+ฉิท)

วจฉสฺส ภิกฺขเว ภิกฺขุโน ปญฺจ ชาติสตานิ อพฺโพกิณฺณานิ พฺราหฺมณกุเล ปจฺจาชาตานิ … ห้าร้อยชาติ ของวัจฉะไม่เจือปนแล้ว เกิดแล้วในตระกูลพราหมณ์โดยลำดับ ขุ. 1/95 ฉบับไทยเป็น อพฺโภ. แต่อรรถกถาเป็น อพฺโพ. ดังนี้ อพฺโพกิณฺณานีติ ขตฺติยาทิชาติอนฺตเรหิ อโวมิสฺสานิ อนนฺทริตานิ ปญฺจ ชาติสตานิ อุทานอ. 243. เรื่องพระวัจฉะนี้ชักไปพูดใน ธมฺอ. 8/579 อีก (ฉบับพิมพ์ครั้งที่ สองเป็น อพฺโพกิณฺณานิ แต่ทำไมพิมพ์ครั้งที่สามจึงเป็น อพฺโภกิณฺณานิ ซึ่งผิด). เอกจฺโจ กุกฺกุรวตฺตํ ภาเวติ ปริปุณฺณํ อพฺโพกิณฺณํ คนบางคนบำเพ็ญวัตรแห่งลูกสุนัขให้บริบูรณ์ ไม่เจือปน - เป็นนิจ มชฺ. 2/83. อพฺโพกิณฺณนฺติ นิรนฺตรํ มชฺอ. 3/96.

…อพฺโพกิณฺโณ ปาเฏกฺโก อาเวณิโก ไม่เจือปนแล้ว เป็นแพนกหนึ่งต่างหาก วินอ. 1/486.

อพฺโพกิณฺณ  อรรถกถาวางคำไข มักใช้ว่า อโวมิสฺส อสมฺมิสฺส เป็นต้น เช่น อพฺโพกฺกิณฺณนฺติ อญฺเญน อสมฺมิสฺสํ นิทฺเทสอ. 1/95. อพฺโพกิณฺณนฺติ นิรนฺตรํ อญฺเญน เจตสา อสมฺมิสฺสํ องฺอ. 3/181.

[อพฺโพจฺฉินฺน ที่ชักมาเทียบ แปลว่า ไม่ขาด, ไม่เป็นท่อน, เสมอ, เป็นนิจ. ธุวกาลนฺติ อพฺโพจฉินฺนกาลํ นิทฺเทสอ. 1/95. มีบ้างที่เป็น อพฺโภจฺ. เช่น ถิเรน อพฺโภจฺจฉินฺนนิรนฺตรวิริเยน ชาอ. 2/353 ในที่นี้จะแปล อพฺโภจฺ. ว่า 'ขาดเฉพาะ' โดยเอา อภิ เป็น อพฺภ ไม่ได้เป็นอันขาด ต้องเป็น อ+วิ+อว อย่างเดิม แต่หากกลายมา-เพี้ยนมา จึงเป็น อพฺโภจฺ. หรือจะถือว่าผิดก็ควร ดุจคำ อพฺโพหาริก ถ้าเป็น อพฺโภ. ก็ต้องว่าผิด.

โวกิณฺณ [วิ+อว+กิร] กค. เกลื่อนกล่น, คละ, เจือ, ฯลฯ อเนกาการโวกิณฺโณ=อเนกาการสมฺมิสฺโส… วินอ. 1/480.
(คำ โวกิณฺณ นี้แล ถ้าให้เป็นปฏิเสธ ก็เป็น อพฺโพกิณณ).

อพฺโภกิรติ [อภิ+โอ+กิร ] ก. โปรยลง, โรยลง, เรี่ยราย. อพฺโภกิริสฺสํ ปตฺเตหิ วิมานวตฺถุ หน้า 4 ฉบับยุโรป. อพฺโภกิริสฺสนฺติ อภิโอกิรึ อภิปฺปกิรึ วิมานวตฺถุอ. หน้า 38 ฉบับยุโรป (ยังไม่มีฉบับไทยเทียบ).

โอกิรติ [โอ+กิร] ก. โปรยลง, หล่นลง ฯลฯ.

อชฺโฌกิรติ [อธิ+โอ+กิร] ก. โปรยลงทับ, หล่นลงทับ ฯลฯ.

อภิปฺปกิรติ [อภิ+ป+กิร]  ก. โปรยปรายยิ่ง, โปรยปรายเนืองๆ ฯลฯ.

ตานิ (มณฺฑารวปุปฺผานิ*) ตถาคตสฺส สรีรํ โอกิรนฺติ อชฺโฌกิรนฺติ อภิปฺปกิรนฺติ ดอกมณฑารพ ท. หล่นลง โปรยลงทับ โปรยปรายเนืองๆ ยังพระสรีระของพระตถาคต ที. 2/172.

โอกิรนฺติ=อวกิรนฺติ=วิกิรนฺติ.   อชฺโฌกิรนฺติ=อชฺโฌตฺถรนฺตา วิย กิรนฺติ. อภิปฺปกิรนฺติ=อภิณฺหํ ปกิรนฺติ ทีอ. 2/ 232

* เป็น มนฺทารว… ก็มี.

ภู (อ)
[ธป]

กิลมุ

เขเท

เหน็ดเหนื่อย, ลำบาก

ครุํ จีวรํ ปารุปนฺโต กิลมติ,
กิลนฺตกาโย,
กิลมโถ, กิลมนํ ความเหน็ดเหนื่อย, ลำบาก.

ภู (อ)

กิลมุ

คิลาเน

ลำบาก, เหน็ดเหนื่อย, เจ็บ, ไข้

กิลมติ การิต-กิลเมติ

… ปิณฺฑปาตาทีหิ น กิลมิสฺสนฺติ (ภิกษุเหล่านั้น, จักไม่ลำบากเพราะบิณฑบาต เป็นอาทิ ธมฺอ. 2/453. 

อิเม มํ ทารกา อติวิย กิลเมนฺติ ทารกเหล่านี้ ยังเราให้ลำบากยากใจเหลือเกิน ธมฺอ. 2/215, ชาอ. 1/177.

กิลมโถ (กิลมุ+ถ เทียบ สมโถ] ป. ความลำบาก, ความเหน็ดเหนื่อย. คิชฺฌกูฏํ ปพฺพตํ อาโรหนฺตสฺส กายกิลมโถ จิตฺตกิลมโถ ความเหนื่อยยาก เหนื่อยใจ แห่งบุท. ผู้ขึ้นเขาคิชฌกูฏ สํ.5/146.

กิลนฺต กค. เหน็ดเหนื่อยแล้ว. สามิ กิลนฺตมฺหา (กิลนฺตา+อมฺหา) ธมอ. 2/209.

ภู (อ)
[ธป]

กิลิท

อทฺทเน

ชุ่มชื้น, เปียก, ชื่นใจ

กิลิชฺชติ. กิเลทนํ ความเปียก.
กิลินฺนํ.

ทิว (ย)

กิลิท

อทฺทภาเว

เปียก, เยิ้ม

กิลิชฺชติ

วโณ กิลิชฺชิตฺถ แผลเยิ้มแล้ว-เป็นหนองแล้ว วิน. 5/48.  เป็น กิเลชฺชติ เปื่อย, เน่า. บ้าง (กิเลชฺชตีติปิ ปาโฐ ฯ  ปูติ โหตีติ อตฺโถ  ฯ สุตฺตนิปาตอ. 2/359).

อุกฺกิเลเทติ [อุ+กิลิท] ก. การิต. 'ให้เปียกออก,' ชำระ, ซัก, ฟอก.  โทสํ อุกฺกิเลเทติ ชำระโทษ ทีอ. 1/255 ไทยยังไม่พบ.

กิลินฺน กค. เปียก, เยิ้ม, ชื้น, ชุ่ม. อช. 753. อสฺสุกิลินฺนมุข มีหน้าเปียก-ชุ่ม ด้วยน้ำตา ทีอ. 1/351. เสฏฺฐิธีตรํ เสทกิลินฺนํ ทิสฺวา เห็นเศรษฐีธิดา ผู้ชุ่มด้วยเหงื่อ-มีเหงื่อท่วมตัวแล้ว ธมฺอ. 6/274.

[กิลิท-อทฺทภาเว น้ำ ไม่มีใน ธป. ธม. และ สทฺทนีติ แต่มีใน สูจิ. ที่แสดงศัพท์ กิลินฺน และมีรูปใช้อยู่ จึงนำมารวมไว้].

ทิว (ย)
[ธป]

กิลิทิ

โรทเน

ร้องไห้, คร่ำครวญ

กิลินฺทติ, กิลินฺทนฺติ.

ภู (อ)

กิลิทิ

ปริเทวาโท

ร้องไห้, ร่ำไร (เป็นอาทิ)

ภู (อ)
[ธป]

กิลิส

พาธเน

เบียดเบียน

กิลิสติ, กิลิสฺสนาติ กิเลโส.
เอตฺถ พาธนฏฺเฐน ราคาทโยปิ กิเลสาติ วุจฺจนฺติ ทุกฺขมฺปิ.

ภู (อ), กี (นา)

กิลิส

อุปตาปมลิเน

เร่าร้อน, เศร้า หมอง

กิลิสฺสติ, กิเลโส. กฺลิสฺสติ,
กฺเลโส เกฺลโส ลบ อิ อักษร.
กิลิฏฺฐํ วตฺถํ ปริทหติ.
สํกิลิฏฺโฐ.

ทิว (ย)

กิลิส

พาธเน

เบียดเบียน, กำจัด

กิลิสติ กิเลโส

  • กิเลโส  กิเลส, 'เบียดเบียน' หมาย 3 นัย:-
  1. กิเลสมีราคะเป็นต้น ดังบาลีว่า ราคาทโย กิเลสา.
  2. ทุกข์, ความลำบาก ดังบาลีว่า อิทญฺจ ปจฺจยํ ลทฺธา ปุพฺเพ กิเลสมตฺตโน.
  3. ความเศร้าหมอง, เปรอะเปื้อน, เป็นมลทิน '=มลินตา' ดังบาลีว่า กิลิฏฺฐวตฺถํ ปริทหติ. และ จิตฺเตน สงฺกิลิฏฺเฐน สงฺกิลิสฺสนฺติ มานวา - ส.
ภู (อ)
[ธป]

กิลิส
[กิลิส กฺลิส]

อุปตาเป

แผดเผา, ให้เร่าร้อน, เบียดเบียน

กิลิสฺสติ สํกิลิสฺสติ กิเลโส สํกิเลโส กฺลิสฺสติ เกฺลโส กิลิฏฺโฐ

  • กิเลโส เกฺลโส  กิเลส, 'เบียดเบียน' หมาย 3 นัย:-
  1. กิเลสมีราคะเป็นต้น ดังบาลีว่า ราคาทโย กิเลสา.
  2. ทุกข์, ความลำบาก ดังบาลีว่า อิทญฺจ ปจฺจยํ ลทฺธา ปุพฺเพ กิเลสมตฺตโน.
  3. ความเศร้าหมอง, เปรอะเปื้อน, เป็นมลทิน '=มลินตา' ดังบาลีว่า กิลิฏฺฐวตฺถํ ปริทหติ. และ จิตฺเตน สงฺกิลิฏฺเฐน สงฺกิลิสฺสนฺติ มานวา - ส.
ทิว (ย)
[ธป]

กิลิส

วิพาธเน

เบียดเบียน, กำจัด

กิลิสฺนาติ กิเลโส

  • กิเลโส  กิเลส, 'เบียดเบียน' หมาย 3 นัย:-
  1. กิเลสมีราคะเป็นต้น ดังบาลีว่า ราคาทโย กิเลสา.
  2. ทุกข์, ความลำบาก ดังบาลีว่า อิทญฺจ ปจฺจยํ ลทฺธา ปุพฺเพ กิเลสมตฺตโน.
  3. ความเศร้าหมอง, เปรอะเปื้อน, เป็นมลทิน '=มลินตา' ดังบาลีว่า กิลิฏฺฐวตฺถํ ปริทหติ. และ จิตฺเตน สงฺกิลิฏฺเฐน สงฺกิลิสฺสนฺติ มานวา - ส.
กี (นา)
[ธป]

กิวิ

วเธ
ฆ่า, เบียดเบียน

กิวุณาติ.

สุ (ณุ ณา อุณา)

กิวิ

หึสายํ

เบียดเบียน

กิวุณาติ

สุ (ณุ ณา อุณา)
[ธป]

กิส

ขียเน
สิ้นไป, ผอมแห้ง

กิสฺสติ
กิโส, กีโส, กิสฺโส, กิสฺสโก คนผอม. 
กิสฺโส โหติ ทุพฺพณฺโณ.

ทิว (ย)

กิส

สาเน

ผอม, บาง, ซูบ

ธาตุนี้ สูจิ. วางคำไขแปลกออกไปว่า กิส=ตนุกรเณ ในความทำให้เล็ก-น้อย-บาง-แบบบาง ซึ่งเนื้อความก็อย่างเดียวกัน. มีคำ กิสิตฺถ อยู่คำหนึ่ง ในประโยคว่า มา กิสิตฺถ มยา วินา เธอเว้นจากเราแล้ว อย่าซูบผอม คืออย่าเสียใจ (แก้อรรถว่า มา กิสา ภว) ชาอ. ฉบับยุโรป 6/495
แต่ฉบับไทยเป็น มา กิลิตฺถ มยา วินา (แก้อรรถว่า มา กิลา ภว) 10/340. ถ้า กิสิตฺถ เป็นคำถูก ก็ชื่อว่าได้รูปกิริยาของธาตุนี้ตัวหนึ่ง.

กิส, กิสก ค. ซูบ, ผอม. โส เตน กิโส โหติ วิน. 1/129. กิสโกวทาโน [กิส+โอวทาน] ผู้สั่งสอนดาบสผู้ซูบผอม วิน. 4/69. กิสสรีร ค. มีสรีระผอม วินอ. 3/28.

ภู (อ)
[ธป]

กิโลต

อทฺเท
ชุ่มชื้น, เปียก, ไหล

กิโลตติ, ปกิโลตติ
กิโลต ธาตุนี้มีเฉพาะในสัททนีติเท่านั้น ไม่ปรากฏในคัมภีร์โลกียะ, แม้ในคัมภีร์ทางศาสนา ก็คิดว่าน่าจะเป็นนามบทที่นำมาใช้เป็น นามธาตุ.

ภู (อ)

กิโลต

อทฺทภาเว (ตินฺตภาเว)

ชุ่ม, เปียก

กิโลตติ ปกิโลตติ การิต-ปกิโลเตติ ปกิโลตยติ

อา. อุณฺโหทกสฺมื ปกิโลตยิตฺวา ให้ชุ่มในน้ำร้อน - ส.

ภู (อ)
[ธป]

กี

ทพฺพวินิมเย
แลกเปลี่ยน, ซื้อขาย

กิณาติ, วิกฺกิณาติ
เกตุํ, กิณิตุํ
กีตํ ภณฺฑํ. 
กยวิกฺกยํ สมาปชฺเชยฺย.

กี (นา)