พจนานุกรมธาตุ

ธาตุ
ธาตุ อรรถ ตัวอย่าง หมวดธาตุ

กปิ

ตกฺกลคนฺธหึสาสญฺจลสตฺตีสุ

กำจัดกลิ่นของยางไม้; หวั่นไหว; สามารถ

กมฺปติ อตฺตโน คนฺเธน อญฺญํ คนฺธํ หนติ โรคาปนยเน วา สมตฺเถตีติ กปฺปุโร การบูร.
กมฺปเต หทยํ มม.

ภู (อ)

กปิ

คติยํ

ไป, ถึง, เป็นไป

กปฺเปติ กปฺปยติ

จุร (เณ ณย)
[ธป]

กปุ

หึสา; ตกฺโกลคนฺเธสุ

เบียดเบียน, หอมดุจกระวาน; หอมเจือเผ็ด

กปฺปติ กปฺปูโร

  • กปฺปูโร  การบูร
ภู (อ)
[ธป]

กปุ

สามตฺถิเย

สามารถ, อาจมี-เป็น, ควร, สมควร

กปฺปติ

  • กปฺปติ  อา. อิทํ อมฺหากํ กปฺปติ นี้ควรแก่เรา ท. กปฺปติ ทฺวงคุลกปฺโป ประมาณพระอาทิตย์คล้อย 2 องคุลี ก็ควร - ส.
ภู (อ)
[ธป]

กปฺป

ตกฺกวิธิเฉทเน

ตรึกตรอง; สำเร็จ, จัดแจง, วิธี; ตัด

กปฺเปติ, สงฺกปฺเปติ.
สมฺมาสงฺกปฺโป,
สีหเสยฺยํ กปฺเปติ.
โมโร วาสมกปฺปยิ (วาสํ อกปฺปยิ).
กปฺปิตเกสมสฺสุ.
กปฺปโก ช่างตัดผม.

จุร (เณ ณย)

กปฺป

สตฺยํ

สามารถ, เหมาะ

กปฺปติ ริปโว เชตุํ สมตฺเถตีติ กปฺปิโน, ราชา.
อิทํ กปฺปติ อมฺหากํ, เนตํ อมฺเหสุ กปฺปติ.

ภู (อ)

กปฺป

วิธิมฺหิ (กิริยายํ)

ทำ, สำเร็จ

กปฺเปติ กปฺปยติ กปุโป ปกปฺเปนฺโต

อา. สีหเสยฺยํ กปฺเปติ.  สีหเสยฺยํ ปกปฺเปนฺตํ กระทำ หรือ สำเร็จสีหไสยา. 
โมโร วาสมกปฺปยิ นกยูงได้ทำ หรือ สำเร็จ ความอยู่ - ส.

จุร (เณ ณย)
[ธป]

กปฺป

วิตกฺเก; วิธิมฺหิ; เฉทเนสุ จ

ดำริ, คิด, นึก; ทำ, สำเร็จ; ต้ด, โกน; กำหนด, หมาย

กปฺเปติ กปฺปยติ ปกปฺเปติ สํกปฺเปติ กปฺปิโต

กปฺโป (น.). [กปฺป ธาตุ] มีอุปสัคบ้าง ไม่มีบ้าง แปลได้หลายอย่าง:-

  1. ดำริ, คิด ‘=วิตกฺก’  ดังบาลีว่า เนกุขมมสํกปฺโป อพฺยาปาทสํกปฺโป.
  2. ทำให้ยิ่ง, จัดแจงยิ่ง ‘=อธิกวิธาน’  ดังบาลีว่า จีวเรปิ วิกปฺปํ อาปชฺเชยฺย.
  3. เปรียบ, เช่น, เหมือน ‘=ปฏิภาค=สทิส’  ดังบาลีว่า สตฺถุกปฺเปน วต โภ สาวเกน สทฺธึ มนฺตยมานา น ชานิมฺหา.
  4. นาม, ชื่อ, ชื่อที่ตั้ง ‘=ปญฺญตฺติ’  ดังบาลีว่า อิจฺจายสฺมา กปฺโป.
  5. กาล, เวลา, สมัย ‘=กาล’  ดังบาลีว่า เยน สุทํ นิจฺจกปฺปํ วิหรามิ.
  6. อายุอย่างสูงของคนในยุคนั้นๆ ‘=ปรมายุ’  ดังบาลีว่า อากงฺขมาโน อานนฺท ตถาคโต กปฺปํ ติฏฺเฐยฺย กปฺปาวเสสํ วา. 
  7. กล่าว, พูด, บอก ‘=โวหาร’  ดังบาลีว่า อนุชานามิ ภิกฺขเว ปญฺจหิ สมณกปฺเปหิ ผลํ ปริภุญฺชิตุํ.
  8. รอบด้าน ‘=สมนฺตภาว’  ดังบาลีว่า เกวลกปฺปํ เวฬุวนํ โอภาเสตฺวา.
  9. เชื่อ, เชื่อถือ ‘=อภิสทฺทหน=สทฺธา’  ดังบาลีว่า สทฺธา สทฺทหนา โอกปฺปนา อภิปฺปสาโท.
  10. ตัด, โกน, ปลง ‘=เฉทน’  ดังบาลีว่า อลงฺกโต กปฺปิตเกสมสฺสุ.
  11. สัมฤทธิผล, บังเกิดผล, บันดาลให้เป็นผล ‘=วินิโยค’  ดังบาลีว่า เอวเมว อิโต ทินฺนํ เปตานํ อุปกปฺปติ.
  12. วินัยกรรม, ทำ หรือ ประพฤติตามที่บัญญัติไว้ ‘=วินัยกิริยา’  ดังบาลีว่า กปฺปกเตน อกปฺปกตํ สํสิพฺพิตํ โหติ.
  13. เลส, เหตุนิดหน่อย ‘=เลส’  ดังบาลีว่า อตฺถิ กปฺโป นิปชฺชิตุํ หนฺทาหํ นิปชฺชามิ.
  14. กัปเป็นระหว่างๆ, อันตรกัป ‘=อนฺตรกปฺป’  ดังบาลีว่า อาปายิโก เนรยิโก กปฺปฏฺโฐ สงฺฆเภทโก กปฺปํ นิรยมฺหิ ติฏฺฐติ.
  15. ตัณหา, ทิฏฐิ, กิเลส, ความชั่ว ‘=ตณฺหา, ทิฏฺฐิ’  ดังบาลี ตณฺหากปฺโป ทิฏฺฐิกปฺโป.
  16. อสงไขยกัป, กัปนับไม่ถ้วน ‘=อสงฺเขยฺยกปฺป’  ดังบาลีว่า อเนเกปิ สํวฏฺฏกปฺเป อเนเกปิ วิวฏฺฏกปฺเป.
  17. มหากัป, กัปใหญ่ ‘=มหากปฺป’ ดังบาลีว่า จตฺตารีมานิ ภิกฺขเว กปฺปสฺส อสงฺเขยฺยานิ.
  18. กำหนด, ประมาณ, วัด, หมาย ‘=วิกปฺป’  ดังบาลีว่า กปฺปติ ทฺวงฺคุลกปฺโป - ส.
    สํกปฺโป สํกปฺปนํ (น.) ดำริ, คิด, นึก, พิจารณา, ใคร่ครวญ [สํ+กปฺป].
    วิกปฺโป (น.) กำหนด, ประมาณ, วัด หมาย; เก็บไว้, มอบไว้, ฝากไว้ [วิ+กปฺป].
    กปฺปโก (น.) ช่างตัดผม, ช่างกัลบก [กปฺป-เฉทเน ณฺวุ ปัจ - สูจิ]
     
จุร (เณ ณย)
[ธป]

กพ

วณฺเณ

ผิว, สี

กพติ.
อกพิ นีลาทิวณฺณตฺตํ อคมีติ กปิโล. สีด่าง, สีลาย. เอา พ เป็น ป, อิล ปัจ.

ภู (อ)

กพฺพ

ทปฺปคตีสุ

หยิ่ง; ไป, ถึง, บรรลุ

กพฺพติ

ภู (อ)

กพฺพ

คติยํ

ไป, ถึง, เป็นไป

กพฺพติ

ภู (อ)
[ธป]

กพฺพ

ทพฺเพ (อหงฺกาเร)

หยิ่ง, จองหอง, อหังการ

กพฺพติ

ภู (อ)
[ธป]

กมุ

คเต

ไป, ถึง, บรรลุ

กมติ, จงฺกมติ. จงฺกมนํ การเดิน, การจงกรม.

ภู (อ)

กมุ

อิจฺฉายํ

ปรารถนา, ต้องการ

กาเมติ, กามยติ.
กามิยตีติ กาโม ความปรารถนา, ความใคร่.
ภวนิกนฺติ.
อภิกฺกนฺตวณฺณา.

ภู (อ), จุร (เณ ณย)

กมุ

ถ้ามีอุปสัค เช่น ป ปรา เป็นต้น จะมีอรรถต่างๆ กัน

ปกฺกมติ ย่อมหลีกไป.
วิกฺกมติ, อุปกฺกมติ, ปรกฺกมติ ย่อมพยายาม,
สงฺกมติ, อติกฺกมติ, อกฺกมติ เหยียบย่ำ, ย่ำยี.
นิกฺขมติ, เนกฺขมติ, เนกฺขมฺมํ ออก, ก้าวออก.
โอกฺกมติ, อนุกฺกมติ, อภิกฺกมติ. อุกฺกมติ กระโดด, ก้าวไป.
ปฏิกฺกมติ, ปฏิกฺกโม การถอยกลับ, ก้าวกลับ.

ภู (อ)

กมุ

ปทวิกฺเขเป

ก้าวไป, ย่างไป, ขยับเข้าไป, ดำเนินไป

กมติ จงฺกมติ  การิต- นิกฺกาเมติ 

อา. นาสฺส กาเย อคฺคิ วา วิสํ วา สตฺถํ วา กมติ. ไฟก็ดี ยาพิษก็ดี ศัสตราก็ดี ไม่ดำเนินไป, ไม่กล้ำกราย (คือไม่ลวก ไม่เข้าไป ไม่ถูกต้อง) ในกายของเขา - ส.

  • อติกฺกมติ (ก.)  ‘ก้าวล่วง’ ล่วงไป, ล่วง. ละเมิด (เช่นล่วงวินัย) [อติ+กมุ] รูปนาม อติกฺกโม - ส.
  • อภิกฺกมติ ( ก.) 'ก้าวไปเฉพาะ' ก้าวไป, เดินไป (อภิ+กมุ] รูปนาม อภิกฺกโม - ส.
  • ปกฺกมติ (ก.) 'ก้าวไปก่อน' หลีกไป, เลี่ยงไป, ไถลไป [ป+กมุ] รูปนาม ปกฺกโม - ส.
  • ปรกฺกมติ (ก.) 'ก้าวไปเบื้องหน้า, พยายาม, บากบั่น, บุกบั่น, ขยัน [ปร+กมุ] รูปนาม ปรกฺกโม - ส.
  • วิกฺกมติ (ก.) 'ก้าวไปอย่างวิเศษ กล้าหาญ, แข็งขันอย่างยิ่ง [วิ+กมุ] รูปนาม วิกฺกโม - ส.
  • นิกฺกมติ, นิกฺขมติ (ก.) 'ก้าวออก' ออกไป [นิ+กมุ] 
    อภินิกฺขมติ 'ก้าวออกอย่างยิ่ง,' ออกบวช, ออกจากกาม [อภิ+นิ+กมฺ] 
    รูปนาม นิกฺกโม นิกฺขมนํ อภินิกฺขมนํ เนกฺขมฺมํ - ส.
  • สงฺกมติ (ก.) ก้าวไปด้วยดี ข้ามไป (อย่างข้ามเหว ห้วย) เป็นต้น [สํ+กมุ]  รูปนาม สงกนฺติ สงฺกโม - ส.
  • จงฺกมนํ (น.) จงกรม, ก้าวไปก้าวมา, เดินไปเดินมา. 
ภู (อ)
[ธป]

กมุ

อิจฺฉา; กนฺตีสุ

ปรารถนา, อยากได้, ชอบใจ; รัก, ใคร่, ยินดี

กาเมติ กามยติ กาโม กนฺติ นิกนฺติ กามนา กามยมาโน 
กาเมนฺโต อภิกฺกนฺตํ กนฺตา 

  • กาโม  กาม มี 2 คือ วตฺถุกาโม 'พัสดุอันสัตว์ใคร่' ได้แก่ รูป เสียง ฯลฯ. กิเลสกาโม 'กิเลสให้สัตว์ใคร่' ได้แก่ ตัณหา ราคะ ฯลฯ - ส.
  • อภิกฺกนฺตํ  แปลได้หลายอย่าง:-
  1. สิ้นไป, หมดไป, ส่วงไป '=ขย' ดังบาลีว่า อภิกฺกนฺตา ภนฺเต รตฺติ ราตรีสิ้นไปแล้ว (สว่าง).
  2. ดี, งาม '=สุนฺทร' ดังบาลีว่า อยํ อิเมสํ จตุนฺนํ ปุคฺคลานํ อภิกฺกนฺตตโร ปณีตตโร จ คนนี้ ดีกว่า ประณีตกว่า 4 คนนี้.
  3. สวยงาม, ผุดผ่อง '=อภิรูป' ดังบาลีว่า อภิกฺกนฺเตน วณฺเณน สพฺพา โอภาสยํ ทิสา มีวรรณผุดผ่อง ให้ทุกทิศโอภาสอยู่.
  4. แสดงความยินดีอย่างยิ่ง, ยินดียิ่งนัก '=อพฺภานุโมทน' ดังบาลีว่า อภิกฺกนฺตํ ภนฺเต พระองค์ผู้เจริญ (ภาษิตของพระองค์) ไพเราะยิ่งนัก, ไพเราะจริงๆ - ส.
  • กนฺตา  อิ. กันดา-กานดา, นาง, หญิง, 'ชายปรารถนา หรือ รัก.'
จุร (เณ ณย)
[ธป]

กมฺป

กมฺปเน (จลเน)

ไหว, หวั่น, สั่น, รัว

กมฺปติ กมฺปนํ อวกมฺปนํ อนุกมฺปา การิต-กมฺเปติ

  • อวกมฺปนํ  นป. ความอนุเคราะห์, ความกรุณา, เอ็นดู, ช่วยเหลือ [อว+กมฺป] - ส.
  • อนุกมฺปา  อิ. (แปลเหม็อน อวกมฺปนํ) [อนุ+กมฺป 'ไหวใจไปตาม'] (อ.160).
  • กมฺเปติ  อา. อิทมฺปิ ทุติยํ สลฺลํ กมฺเปติ หทยํ มม ลูกศรที่ 2 แม้นี้ ยังหทัยของข้าพเจ้าให้หวั่น - ส.
ภู (อ)
[ธป]

กมฺพ

สํวรจลนคเต

สำรวม, ระวัง; หวั่นไหว; ไป, ถึง

กมฺพติ สํวรณํ กโรตีติ กมฺพุ. กำไล, หอยสังข์.
กมฺพมฺหิ สญฺจลเน อลนฺติ กมฺพลํ. ผ้าขนสัตว์.

ภู (อ)

กมฺพ

สํวรเณ

สังวร, ป้องกัน

ภู (อ)
[ธป]