พจนานุกรมธาตุ

ธาตุ
ธาตุ อรรถ ตัวอย่าง หมวดธาตุ

กี

หึสายํ

เบียดเบียน

กีโณติ กีณาติ

สุ (ณุ ณา อุณา)
[ธป]

กี

ทพฺพวินิมเย

'แลกเปลี่ยนด้วยทรัพย์,' ซื้อ, ขาย

กีณาติ วิกฺกีณาติ เกตุํ กีณิตุํ วิกฺเกตุํ วิกฺกีณิตุํ กีณิตฺวา กีโต กโย วิกกโย

  • กีโต  อา. กีตํ ภณฺฑํ ภัณฑะที่ซื้อมา - ส.
    ที่ไม่มี วิ นำ เป็น ซื้อ, ที่มี วิ นำ เป็น ขาย.
ภู (อ)
[ธป]

กีฏ

พนฺธรณฺชเน
ผูก, มัด; ย้อม

กีเฏติ
กีโฏ, กีฏโก แมลง, ตั๊กแตน, มอด.

จุร (เณ ณย)

กีล

พนฺเธ

ผูก

ภู (อ)

กีล

พนฺธเน

ผูก, พัน, มัด

กีลติ กีลํ กีเลยฺย กีลฺเย

  • กีลํ  ความผูก, ความมัด, เครื่องผูก, เครื่องมัด.
  • กีเลยฺย กีลฺเย (ก. เกยฺย สตฺ) พึงผูก, พึงมัด, พึงจำจอง, พึงดัก. 
    อา. สุเตน วา สุตํ กีเลฺย พึงผูก หรือ ดักหงส์ผู้มีชื่อเสียง ด้วยสระซึ่งมีชื่อเสียง. 
    'กีเลฺย=กีเลยฺย=หึเสยฺย=พาเธยฺย' [มหาหํสชาตก]. 
ภู (อ)
[ธป]

กีล

ปีติย; กีฬเนสุ

อิ่มใจ, เบิกบานใจ; เล่น, กีฬา

กีฬติ

ภู (อ)
[ธป]

กีฬ

กีเฬ
เล่น

กีฬติ พาโล สุสูหิ. 
กีฬา
เกฬี กุรุมาโน.

ภู (อ)

กีฬ

วิหาเร

'ใจอยู่,' เล่น, เพลิน

กีฬติ กีฬา กีฬํ

ภู (อ)
[ธป]

กุ

กุจฺฉายํ
นินทา; รังเกียจ; ชัง

กุยเต กุจฺฉิยเตติ กณฺโห สีดำ. 
กณฺโห วตายํ ปุริโส, กณฺหา ธมฺมา.

ภู (อ), คห (ณฺหา ปฺป)

กุ

สทฺทจฺฉาทปูรณหึสาฏฺฏสฺสรคนฺเธ
เสียง; ปกปิด; ให้เต็ม; เบียดเบียน; คร่ำครวญ; กลิ่น

โกติ, กวติ
กานนํ ป่า. 
กพฺพํ กาพย์กลอน.

ภู (อ)

กุ

สทฺเท

'ออกเสียง,' ร้อง, กล่าว

โกติ-กวติ กานนํ กพฺพํ กาวิยํ กาเวยฺยํ กุตฺวา กฺวิตวา กวี กมฺม-กุยฺยติ

  • กานนํ  ป่า, 'มีเสียงเวลาเที่ยงวัน' นัยหนึ่ง 'เป็นที่ร้องของสัตว์' - ส.
  • กพฺพํ, กาวิยํ, กาเวยฺยํ  กาพย์, คำของกวี,' กลอน, โคลง, ฉันท์ เป็นต้น. 
    บางอาจารย์ปรารถนาให้เป็น รูป กาพฺยํ.  รูป กาพฺยํ นี้ เป็นรูปสักกต ไม่ใช่รูปบาลี - ส.
  • กวี แปลได้ (1) นักปราชญ์ 'ผู้แสดง' (2) ลิง 'ร้อง' (อช. 1105).
ภู (อ)
[ธป]

กุ

กุจฺฉายํ (ครหายํ)

น่าเกลียด, น่าชัง; ดำ, มืด

กณฺโห

หมวด ค. มีปัจจัย 2 คือ ณฺหา ปฺป ใน ณฺหา ปัจจัย มีรูปกิริยาอยู่คำเดียว คือ คณฺหาติ นอกนั้นเบีนรูปนาม หรือคุณทั้งนั้น. 
มีคำ ตณฺหายติ=อยาก, ปรารถนา, ดิ้นรน. อยู่คำหนึ่ง แม้เช่นนั้นก็ลง อาย ปัจจัยอีกชั้นหนึ่ง คล้ายคำว่า ปพฺพตายติ=ประพฤติดุจภูเขา. เมตฺตายติ-เมตตา, เอ็นดู, อนุเคราะห์ - ส.

  • กณฺโห  
    น. พระกฤษณะ, พระนารายณ์ 'ดำ' (หมายเป็นฝ่ายเดช); พระยามาร, ท้าววสวัตตี. 
    ค. ชั่ว, ดำ, มืด (อช. 1000). กณฺหา ธมฺมา ธรรมดำ ได้แก่อกุศล - ส.
คห (ณฺหา ปฺป)
[ธป]

กุก

อาทาเน
ถือเอา, ยึดมั่น, ถือมั่น

กุกตีติ โกโก หมาป่า. กุกฺกุโร หมาบ้าน. กุกฺกุโฏ ไก่. 
กุกียติ ปาปการีหีติ กุกฺกฬํ เถ้าถ่าน, ถ่านเพลิง. 
กุกติ อตฺตโน สทฺเทน สตฺตานํ มนํ คณฺหาตีติ โกกิโล นกดุเหว่า.

ภู (อ)

กุก

อาทาเน

ถือ, รับ, ฉวย, คว้า

กุกติ โกโก กกุโธ

  • โกโก  โกก, สุนัขป่า, 'ฉวย' โกโกติ อรญฺญสุนโข - ส.
  • กกุโธ  กกุธ ในคำว่า ราชกกุธภณฺฑํ เครื่องราชกกุธภัณฑ์, เครื่องประดับพระเกียรติยศกษัตริย์สมัยโบราณ, มี 5 อย่าง มีพระขรรค์ มงกุฎ เป็นต้น*; หนอกโค; ไม้ชนิดหนึ่ง โบราณว่า ไม้กุ่ม [จาก กุก นี้ - สูจิ. กลับ กุก เป็น กกุ. ยังมีนัยอื่น].

*  อภิธานัปปทีปิกา คาถา 358 ว่า
ขคฺโค จ ฉตฺตมุณฺหีสํ    ปาทุกา วาลวิชนี
อิเม กกุธภณฺฑานิ    ภวนฺติ ปญฺจ ราชุนํ.
สูจิ. ให้ วิ. ว่า คมนกาเล สทา อาทาตพฺพโต กกุธานิ จ ตานิ ราชธนตฺตา ภณฺฑานิ เจติ กกุภณฺฑานิ.

ภู (อ)
[ธป]

กุจ

อุจฺจสทฺทปฏิกฺกมโกฏิลฺลโรธสํโยคเลขเนสุ
ตะโกน; ก้าวกลับ; คด, งอ; ปิดกั้น; ประกอบ; ขีดเขียน

โกจติ ทำเสียงดัง. 
โกจติ สงฺกุจติ เกเจติ ยุคลํ สํยุชฺชตีติ กุโจ เต้านม. 
กุจผโล ต้นมะพลับ.

ภู (อ)

กุจ

สํปจฺจน; โกฏิลฺล; ปฏิกฺกม; วิเลขเนสุ

หุงต้ม, สุก; คด, โค้ง; ถอยหลัง, ถอยกลับ; เขียน, ขีดทำให้เป็นรอย 

กุจติ สงฺกุจติ สงฺโกโจ

ภู (อ)
[ธป]

กุจ

สงฺโกจเน

หดเข้า, สั้นเข้า, หดหู่

กุจติ สงฺกุจติ สงฺโกโจ

ภู (อ)
[ธป]

กุจฺฉ

นินฺทเน
นินทา, ติเตียน

กุจฺเฉติ, กุจฺลยติ
กุจฺฉา การนินทา, ติเตียน.

จุร (เณ ณย)

กุจฺฉ

อวกฺเขเป (อโธขิปเน)

ขว้างลงไป, ซัดลงไป, ขว้างลงข้างล่าง

กุจฺเฉติ กุจฺฉยติ

จุร (เณ ณย)
[ธป]

กุชิ

สทฺเท
เปล่งเสียง

กุญฺชติ

ภู (อ)