พจนานุกรมธาตุ

ธาตุ
ธาตุ อรรถ ตัวอย่าง หมวดธาตุ

กุส

เฉทเน

ตัด

ภู (อ)
[ธป]

กุส

ปูรเณ

เต็ม, ให้เต็ม

ภู (อ)
[ธป]

กุส

อกฺโกเส

ด่า, ว่า

อกฺโกสติ 

อ เบื้องต้นแห่งคำ อกฺโกส ทุกรูป พึงทราบว่าเป็น อา ปุรพบท รัสสะเป็น อะ แล้วสัญโญคทุกแห่งไป.

อกฺโกสวตฺถูหิ อกฺโกสนฺติ ปริภาสนฺติ ย่อมด่า ย่อมบริภาษ ด้วยอักโกสวัตถุ ท. ธมฺอ. 7/420. คำ อกฺโกสติ มักใช้คู่กับ ปริภาสติ.

อกฺโกสก [อา+กุส] ด. ผู้ด่า. +ปริภาสก. อกฺโกสกปริภาสโก ผู้ด่าว่า ธมฺอ. 6/277. องฺ. 3/279.

อกฺโกส, อกฺโกสน ป. นป. ความด่า-ว่า, คำด่า-ว่า. อกฺโกเสหิ อกฺโกสิตวา ธมฺอ. 3/438. อนกฺโกสน [น+อกฺ-] ความไม่ด่า ธมอ. 6/277.

อกฺโกสวตฺถุ [อกฺโกส+วตฺถุ] นป. วัตถุ-ที่ตั้ง-ฐาน แห่งการด่า (มี 10 มีการอ้างชาติ นาม โคตร เป็นต้น) ทสหิ อกฺโกสวตฺถูหิ อกฺโกสนฺติ ปริภาสนฺติ ธมฺอ. 2/191.

อกฺโกจฺฉิ [อา+กุส+อี อชฺชตฺตนี] ก. ด่าแล้ว. =อกฺโกสิ ธมฺอ. 1/39-40.

อกฺกุฏฺฐ (อา+กุส+ต ปัจ.] กค. ด่าแล้ว. อกฺกุฏฺโฐติ ทสหิ อกฺโกสวตฺถูหิ อภิสตฺโต สุตฺตนิปาตอ. 2/209.
อกฺกุฏฺฐ นป. ความด่า, คำด่า. อกฺกุฏฺฐวนฺทิตนฺติ อกฺโกสญฺจ วนฺทนญฺจ สุตฺตนิปาตอ. 2/374.

ภู (อ)
[ธป]

กุส

อวฺหาเน

เรียก, ร้องเรียก

โกสติ  ปกฺโกสติ ปกฺโกสโก ปกฺโกสิโต ปกโกสนํ

ภู (อ)
[ธป]

กุส

โรทเน

ร้องไห้

โกสติ 

กุส ใน ส. มีเท่านี้. ในกัจจายนะ อย่างข้างบนไม่มี แต่กลับมีแปลกออกไปว่า กุส=อกฺโกเส; เฉทเน; ปูรเณ จ (ด่า; ตัด; เต็ม) ที่แปลว่า ด่า มีใช้ในที่ทั่วไป เป็นรูปเช่น อกฺโกสติ อกฺโกสนํ อกฺโกสิตฺวา ฯเปฯ [ที่มี อ อยู่ต้น คือ อา ปุพฺ - สูจิ].

ภู (อ)
[ธป]

กุสิ

ชุตฺยํ
สว่าง, รุ่งเรือง

ภาสายํ วา กุเสติ. กุสยติ ย่อมกล่าว, พูด.

ภู (อ), จุร (เณ ณย)

กุสิ

ภาสายํ

กล่าว, พูด

กุํเสติ กุํสยติ

จุร (เณ ณย)
[ธป]

กุสุ

ทิตฺติหรเณ
สว่าง, รุ่งเรือง; นำไป

ธาตุนี้ไม่มีในคัมภีร์ต้นฉบับ.

ทิว (ย)

กุสุ

หรณ; ทิตฺตีสุ

นำไป; ส่องสว่าง, สวยงาม

กุสฺสยติ

ทิว (ย)
[ธป]

กุห

วิมฺหาปเน
ให้พิศวง, โกง, ล่อลวง

กุเหติ โลกวิมฺหาปนํ กาโรตีติ กุหโก คนลวงโลก. 
กุหนสฺส ภาโว โกหญฺญํ.

จุร (เณ ณย)

กุห

วิมฺหาปเน

'ให้พิศวง,' โกหก, ลวง, หลอก, โกง

กุเหติ กุหยติ กุหโก กุหนา

จุร (เณ ณย)
[ธป]

กุฬ

ภกฺเข

กิน

ภู (อ)

กุฬ

ฆสเน

กิน, เคี้ยวกิน

กุฬติ

ภู (อ)
[ธป]

กู

สทฺทเน
เปล่งเสียง, ออกเสียง

กุวเต
กูนาติ กูโป หลุม, บ่อ.

ภู (อ), กี (นา)

กูช

หิกฺกเน
ส่งเสียงร้อง

กูชติ โกกิโล
วิกูชมาโน.

ภู (อ)

กูช

อวฺยตฺเต สทฺเท

ร้อง, ส่งเสียง (สำหรับสัตว์)

กูชติ-กุชฺชติ 

ธาตุนี้ ธป. มีโนตว่าเป็น กุช บ้าง. แลให้ดูเทียบ กุชิ ในธาตุปฺ. เล่มก่อน.

โมรจฺฉาโปว กูชติ ร้องอยู่ดุจลูกอ่อน แห่งนกยูง หรือ ดุจลูกนกยูง ชาอ. 2/439=4/208 ไทยเป็น กุชฺชติ.

วิกูชติ-วิกุชฺชติ [วิ+กูช หรือ กุช] ก. ร้องก้อง, ส่งเสียงก้อง. อุปนทนฺตีติ วิกูชนฺติ เปตวตฺถุอ. 189 (ยังไม่มีฉบับพิมพ์ไทยสอบ) ในที่นี้หงส์ร้อง.

วิกูชนฺต [จาก วิกูชติ] กค. ร้องก้องอยู่, ส่งเสียงก้องอยู่. สกุณสงฺฆา มธุรสฺสเรน วิกูชนฺตา ฝูงสกุณร้องก้องอยู่ด้วยเสียงไพเราะ ชาอ. 1/83.

วิกูชมาน-วิกุชฺชมาน [จาก วิกูชติ-วิกุชฺชติ] กค. ร้องก้องอยู่, ส่งสำเนียงก้องอยู่, นวกา ภิกฺขู … มุฏฺฐสฺสตี อสมฺปชานมานา นคฺคา วิกุชฺชมานา กากจฺฉมานา เสยฺยํ กปฺเปนฺติ เหล่านวกภิกษุ…เผลอสติ ไม่รู้สึก นอนเปลือยกาย ส่งเสียงพึมพำ -ละเมอแลกรนอยู่ วิน. 2/171 (วิกูช-กุชฺช นี้ตามธรรมดา ใช้สำหรับสัตว์ร้อง ในที่นี้เห็นจะเป็นอาการคล้ายสัตว์ จึงใช้ศัพท์นี้) วิกุชฺชมาน=วิปฺปลปมาน ละเมอ-เพ้อ, กากจฺฉมาน กรน =นาสาย กากสทฺทํ วิย นิรตฺถสทฺทํ มุญฺจมาน วินอ. 2/293.

อภิกูชิต-อภิกุชฺชิต [อภิ+กูช หรือ กุช] กค. ส่งสำเนียงก้องแล้ว (สำหรับ นก), เห่าก้องแล้ว (สำหรับ สุนัข). ปิงฺคเลนาภิกุชฺชิตํ (ในที่นี้ หมายเอาสุนัขเห่าก้อง) ชาอ. 8/59 ยุโรป เป็น -ภินิกูชิตํ.

อุปกูชิต-อุปกุชฺชิต [อุป+กูช หรือ กุช] กค. ร้องระเบงเซ็งแซ่แล้ว. อิมา ตา โปกขรณิโย รมฺมา จากวากูปกุชฺชิตา สระโปกขรณีเหล่านี้นั้น เป็นที่รื่นรมย์ อันเหล่านกจากพรากร้องระเบงเซ็งแซ่แล้ว ชาอ. 6/360.

ภู (อ)
[ธป]

กูฏ

ทาหปฺปสาทมนฺตนทานาปวาเท
เร่าร้อน; ไม่เป็นที่เลื่อมใส; ปรึกษา; ให้; โกง

กูเฏติ, กุฏยติ
กูฏฏฺโฐ ตั้งอยู่เป็นนิตย์เหมือนก้อนกรวด. 
กูฏปาโน บ่วงคด. 
กูโฏ ค้อน, คนโกง, กองข้าวเปลือก เป็นต้น

จุร (เณ ณย)

กูฏ

อปฺปสาทเน

'ไม่ทำให้เลื่อมใส,' เลว, โกง, หลอกลวง

กูเฏติ กูฏยติ กูโฏ

อา. กูฏตาปโส ดาบสโกง. กูฏา คาวี แม่โคโกง. กูฏํ รชตํ เงินปลอม เงินเก๊, เงินแดง - ส.

จุร (เณ ณย)
[ธป]

กูฑ

ฆนีภาเว จ ภกฺขเณ
เป็นก้อน; กิน

กูฑติ ขีรํ อคฺคิโยคา. 
กูฑติ อนฺนํ โลโก.

ภู (อ)

กูณ

สงฺโกเจ
เบี้ยวบูด; หงิกงอ

กูเณติ
หตฺเถน กูณี, อุโภ ขญฺชา อุโภ กูณี.

จุร (เณ ณย)