พจนานุกรมธาตุ

ธาตุ
ธาตุ อรรถ ตัวอย่าง หมวดธาตุ

กุฑ

ภกฺขณกีฬ

กิน; เล่น

ภู (อ)

กุฑิ

รกฺขเวธเน
รักษา; เจาะ

กุณฺเฑติ, กุณฺฑยติ, กุณฺฑิยติ เวธิยตีติ กุณฺฑลํ กุณฑล, ต่างหู, ลอนผม.

จุร (เณ ณย)

กุฑิ

เวกลฺลทาเห
พิการ; เร่าร้อน

กุณฺฑติ ทยฺหเตติ กุณฺโฑ, ปิฏฺฐโว หม้อข้าว. 
ฆํสเนน กุณฺฑติ ทหตีติ กุณฺฑลํ ต่างหู, ตุ้มหู.

ภู (อ)

กุฑิ

ทาเห

เผา, ไหม้, ร้อน 

กุณฺฑติ กุณฺโฑ กุณฺฑํ กุณฺฑโก

  • กุณฺโฑ  ป. เตาไฟ, หลุมไฟ; เหี้ย.
  • กุณฺฑํ  นป. หม้อ, กระถาง, กระปุก, ขวด (อช. 456).
  • กุณฺฑโก  ป. รำข้าว (อช. 622).
ภู (อ)
[ธป]

กุฑิ

เวทเน

รู้สึกสุขทุกข์

กุณฺเฑติ กุณฺฑยติ กุณฺฑลํ *

  • กุณฺฑลํ  กุณฑล, ตุ้มหู.

* ในสูจิว่า มาจาก กุณฺฑ ทาเห อลบัจจัย วิ. ว่า ฆํสเนน กุณฺฑติ ทหตีติ กุณฺฑลํ.

จุร (เณ ณย)
[ธป]

กุณ

โปสเน
เลี้ยงดู

กุณติ ทีนํ ทยาลุ.

ภู (อ)

กุณ

มนฺตเน
ปรึกษา

กุเรติ, กุณยติ.

จุร (เณ ณย)

กุณ

สทฺเท
ออกเสียง, เปล่งเสียง

กุโณติ นทตีติ โกณฺโฑ
วาตสมุฏฺฐิตา วิจิมาลา เอตฺถ กุณนฺติ กุณาโล, เอโก มหาสโร.

ภู (อ), ตน (โอ ยิร)

กุณ

สทฺโทปกรเณ

เกื้อกูลแก่เสียง

โกณติ

ภู (อ)
[ธป]

กุณ

สงฺโกจเน

หดเช้า, สั้นเข้า, งอ, หงิก

กุเณติ กุณยติ กุโณ กุณหตฺโถ กุณี โกโณ

  • กุณหตฺโถ  ค. มีมือหงิก [กุณ+หตฺถ].
  • กุณี  คนง่อย, คนกระจอก.
  • โกโณ  มุม, งอ.
จุร (เณ ณย)
[ธป]

กุณ

อามนฺตเน

เรียก, ร้องเรียก

กุเณติ กุณยติ

จุร (เณ ณย)
[ธป]

กุถ

ปูติสํกิเลเส
เปื่อยเน่า; เศร้าหมอง

กุถติ อถุตึ ปูติภาวมคมีติ กุณปํ ซากศพ. 
ยาว กุถิตํ น โหติ. ตาว ปาราชิกวตฺถุ.

ภู (อ)

กุถ

ปาเก; ปูติภาเว; สํเกฺลสเน จ

หุง, ต้ม, สุก, เดือด; บูด, เน่า, เปื่อย; เศร้าหมอง

กุถติ

กุถนฺต [จาก กุถติ] กค. สุกอยู่, เดือดอยู่. ทสฺเสสิ มาตลิ … เวตรณึ นทึ กุถนฺตึ มาตลี แสดงแม่น้ำเวตรณี (ในนรก) อันกำลังเดือด (แด่พระเจ้าเนมิราช) ชาอ. 6/105 =9/178. ไทยเป็น กุฏฺฐิต เดือดแล้ว

กุถิต [จาก กุถติ] กค. สุกแล้ว, เดือดแล้ว พหลกุถิตลาขารสวณฺณํ มีวรรณดุจรสแห่งครั่งอันสุกแล้วหรือต้มแล้ว หนา ขุทฺทกปาฐอ. 62-66 ไทยเป็น พหลกุฏฺฐิต-. กุฏฺฐิตปนสตจสฺส อพฺภนฺตรสทิสํ เช่นกับภายในแห่งเปลือกแห่งลูกขนุนอันสุกแล้ว. วิสุทฺธิมคฺค 1/40.

ฉบับไทยเป็น กุฏฺฐิต ทั้งสิ้น ในอรรถเช่นนี้ จะว่าๆ กุถ ธาตุนี้เป็น กุฐ บ้าง ก็ไม่ชอบ เพราะเทียบธาตุสํสกฤตได้ว่า กฺวถ ซึ่งมีอรรถเค้าเดียวกัน น่าจะว่าๆ กุถ นี้แล ถ กลายเป็น ฐ แล้วสํโยค ซึ่งพอจะเทียบกับคำอื่นได้บ้าง.

ยังมีคำ ปกฺกุฏฺฐิต อีกคำหนึ่ง ซึ่งแเปลว่า เดือดพล่านแล้ว เช่น ปกฺกุฏฺฐิตํ อุณฺโหทกํ น้ำร้อนเดือดพล่านแล้ว ธมฺอ. 1/117. แล ปกฺกุฏฺฐิตโลหิโต มีโลหิตเดือดพล่านแล้ว ธมฺอ. 2/163 ในที่เหล่านี้ ยุโรปกลับเป็น ปกฺกฏฺฐิต ไปหมด ไม่มี ปกฺกุ- เลย (Dh A. 1/126, 179, 2/5) ข้าพเจ้ารู้สึกว่า คำเหล่านี้ติดจะฟั่นเผือพอใช้ ในระหว่างไทยกับยุโรป เชิญท่านผู้รู้ทั้งหลายลองวิจารดูบ้าง.

ปกฺกุฏฺฐิต นั้น ถ้าจะแยก ก็ควรเป็น ป+กุฏฺฐิต (ซึ่งกลายมาจาก กุถิต ) แต่ถ้าจะแยกว่า ปกฺก+อุฏฺฐิต ในเมื่อไม่มีคำ กุฏฺฐิต เฉยๆ ยันอยู่ ก็พอจะฟังไปได้ แต่เมื่อได้หลักเช่นนี้แล้ว นับว่าฟังไม่ขึ้น.

ปกฺกฏฺฐิต นั้น ก็เลือนมากลายมาจาก ป+กุถ นี้เอง.

ภู (อ)
[ธป]

กุถ

หึสายํ

เบียดเบียน

โกถติ

ภู (อ)
[ธป]

กุถิ

หึสากิลิสฺสเน
เบียดเบียน; เศร้าหมอง

กุนฺถติ
กุนฺโถ มด, มดดำ. กุนฺถกิปิลฺลิกํ
ทิสฺวาน ปติตํ สามํ ปุตฺตกํ ปํสุกุนฺถิตํ.

ภู (อ)

กุถิ

หึสา; สงฺกิเลเลสุ

เบียดเบียน; เศร้าหมอง, เปรอะเปื้อน

กุนฺถติ กุนฺโถ กุนฺถกิปิลฺลิกํ กุนฺถิติ

  • กุนฺโถ  มดชนิดหนึ่ง.
  • กุนฺถกิปิลฺลิกํ  มดดำและมดแดง.
  • กุนฺถิติ  กค. เปรอะเปื้อน.  
    อา. ทิสฺวาน ปติตํ สามํ ปุตฺตกํ ปํสุกุนฺถิตํ เห็นบุตรล้มลงเองเปรอะเปื้อนด้วยฝุ่น - ส.
ภู (อ)
[ธป]

กุท

กีฬเน
เล่น

โกทติ, โกทนฺติ.

ภู (อ)

กุท

กีฬายํ

เล่น, กีฬา

โกทติ

ภู (อ)
[ธป]

กุทิ

มิจฺฉาวาเกฺย
พูดอย่างผิดๆ

กุนฺเทติ, กุนฺทยติ.

จุร (เณ ณย)

กุทิ

อนฺตภาสเน

กล่าวซึ่งที่สุด

กุนฺเทติ กุนฺทยติ

ภู (อ)
[ธป]