พจนานุกรมธาตุ
ธาตุ Sort descending | อรรถ | ตัวอย่าง | หมวดธาตุ | |
---|---|---|---|---|
ปห |
เปสเน ส่งไป |
ปาเหติ, ปาหยติ. |
จุร (เณ ณย) | |
ปา |
ปาเน ดื่ม |
ปาติ ปานํ ปาตุํ ปาสติ อปสฺสา ปปา
|
ภู (อ) [ธป] |
|
ปา |
ปาเน ดื่ม |
ปิวติ ปิวํ ปิวนฺโต ปิวิตฺวา ปิวิตุํ การิต-ปาเยติ กมฺม-ปียติ ปีตํ รูป ปิว ทั้งหมดนี้ โดยอาเทส ปา เป็น ปิว - ส. อา. กุมารํ ขีรํ ปาเยติ ให้เด็กดื่มนม - ส. |
ภู (อ) [ธป] |
|
ปา |
รกฺขเน รักษา, เลี้ยง, คุ้มครอง |
ปาติ นิปาติ ปิตา โคโป นิปโก เนปกฺกํ อธิโป อธิปติ ชนาธิโป ปติ ปาปํ
|
ภู (อ) [ธป] |
|
ปา |
ปูรเณ เต็ม, ทำให้เต็ม |
ปาติ วิปฺปาติ วิปฺโป
|
ภู (อ) [ธป] |
|
ปา |
ปานรกฺขภุญฺชนปูรปาปุณเน ดื่ม; รักษา; บริโภค; ให้เต็ม; ถึง |
ปาติ ปิวตีติ ปิวโก ผู้ดื่ม. |
ภู (อ) | |
ปายิ |
วุฑฺฒิยํ เจริญ, รุ่งเรือง |
ปายติ ปาโย อปาโย ปีโต ปีตวา
|
ภู (อ) [ธป] |
|
ปายี |
วุทฺธิยํ เจริญ |
ปายติ. |
ภู (อ) | |
ปาร |
กมฺมสมฺปตฺติยํ 'ถึงพร้อมแห่งการงาน,' เสร็จ, สำเร็จ |
ปาเรติ ปารยติ ปารํ อา. วิกฺกมามิ น ปาเรมิ.* 'น ปาเรมิ=ฉินฺทิตุํ น สกฺโกมิ' - ส.
* ตัวอย่างนี้มาในสุวัณณมิคชาดก ชาตกฏฺฐกถา ภาค 4/459 แต่ขอให้ตัวอย่างอีกแห่งหนึ่งซึ่งมาในกากชาดกว่า โอรมาม น ปาเรม ปูรเตว มโหทธิ. น ปาเรม แปลว่า ย่อมไม่สำเร็จ อัฏฐกถาชาดกภาค 2/396 แก้ว่า ตุจฺฉํ ปน นํ (มหาสมุทฺทํ) กาตุํ น สกฺโกม. |
จุร (เณ ณย) [ธป] |
|
ปาร |
กมฺมสมฺปตฺติยํ ความสำเร็จแห่งการงาน |
ปาเรติ, ปาเรยติ. |
จุร (เณ ณย) | |
ปาล |
รกฺขเน รักษา, เลี้ยง |
ปาเลติ ปาลยติ ปาลโก ปาลิโต ปาลนํ ปาลิ
* ที่ปราชญ์โบราณเขียนเป็น ปาฬิ ก็โดยได้นัยจากตำราศัพทศาสตร์ ที่บอกให้แปลง ล เป็น ฬ ดังนี้. ว่าทางเหตุผลก็อาจเป็นว่า ปาลิ เป็นคำธรรมดา เมื่อเป็นชื่อของพระปริยัตติธรรม คือพระพุทธพจน์ ก็แปลงเป็น ฬ เสีย หมายให้เป็นที่เคารพ หรือเป็นพิเศษ คล้ายคำ อฏฺฐกถา ซึ่งที่จริงก็ อตฺถกถา นั่นแล แต่แปลงเป็น ฏฺฐ เสีย ก็เพื่อให้เป็นพิเศษแปลกจากคำธรรมดา ซึ่งในบัดนี้ก็ยังใช้เช่นนั้น เทียบในภาษาอังกฤษ คำที่เป็นอสาธารณนาม เขาก็ใช้อักษรใหญ่เหมือนกัน. แต่ปราชญ์ชาวตะวันตกนิยมใช้ตามรูปเดิม คือ ปาลิ ถึงได้แต่งดิกชันนารี เรียกว่า Pali Dictionary เป็นต้น; ปราชญ์ในเมืองไทยก็อนุโลมตาม จึงกลับใช้เป็น ปาลิ เพื่อให้สม่ำเสมอกัน หรือที่เรียกว่าเป็นแบบสากล แลก็ไม่ควรกลับใช้เป็น ปาฬิ อีก (ผู้แต่ง). |
จุร (เณ ณย) [ธป] |
|
ปาล |
รกฺขเณ รักษา |
ปาเลติ. |
จุร (เณ ณย) | |
ปิ |
ปีติยํ อิ่มใจ, ดีใจ, เบิกบานใจ, รักใคร่ |
ปิโณติ ปิณาติ ปีติ ปิโย เปโม
|
สุ (ณุ ณา อุณา) [ธป] |
|
ปิ |
ยายเน ไป |
ภู (อ) | ||
ปิจฺฉ |
พาเธ เบียดเบียน |
ปิจฺฉติ. |
ภู (อ) | |
ปิชิ |
ภาสายํ กล่าว, พูด |
ปิญฺเชติ ปิญฺชยติ |
จุร (เณ ณย) [ธป] |
|
ปิชิ |
หึสา; พล; ทาน; นิเกตเนสุ เบียดเบียน; อาจ, มีกำลัง; ให้; อยู่, อาศัย |
ปิญฺเชติ ปิญฺชยติ |
จุร (เณ ณย) [ธป] |
|
ปิชิ |
วณฺณปูชาสุ สีลาย, ด่าง; บูชา |
ปิญฺชติ. |
ภู (อ) | |
ปิชิ |
หึสานิเกตนทานทิตฺติพเล เบียดเบียน; อยู่; รุ่งเรือง; มีกำลัง |
ปิญฺเชติ, ปิญฺชยติ |
จุร (เณ ณย) | |
ปิญฺฉ |
ปิญฺฉเน | ธาตุนี้ กริ่งใจว่า จะตัวเดียวกับ ปิชิ=ภาสายํ แล ปิชิ=หึสา; พล; ทาน; นิเกตเนสุ (ดูคำแปลใน ธาตุปฺ. เล่มก่อน). |
ภู (อ) [ธป] |
|
ปิฏ |
สทฺท; สงฺฆาเตสุ ออกเสียง, กล่าว; ประหาร, ฆ่า; รวบรวม, ติดต่อ |
เปฏติ เปฏโก ปิฏกํ
|
ภู (อ) [ธป] |
|
ปิฏ |
สทฺทสํหเต ทำเสียง; รวบรวม |
ปิฏติ, เปฏติ. |
ภู (อ) | |
ปิฐ |
หึสา; สงฺกิเลเลสุ เบียดเบียน; เศร้าหมอง |
เปฐติ ปิฐโร
|
ภู (อ) [ธป] |
|
ปิฐ |
วธกิเลเสสุ ฆ่า, เบียดเบียน; เศร้าหมอง |
เปฐติ. |
ภู (อ) | |
ปิฑิ |
สงฺฆาเต รวบรวม, ติดต่อกัน |
ปิณฺเฑติ ปณฺฑยติ
|
จุร (เณ ณย) [ธป] |