พจนานุกรมธาตุ

ธาตุ
ธาตุ อรรถ Sort descending ตัวอย่าง หมวดธาตุ

กร

กเร, กรเณ

กระทำ

กุพฺพติ, กฺรุพฺพติ, กยิรติ สงฺขโรติ อภิสงฺขาโร.
ในกัมมรูปเป็น กรียติ, กริยฺยติ, กยฺยติ, กยิรติ.
ในเหตุกัต. กาเรติ, การยติ, การาเปติ, การาปยติ.

ภู (อ), ตน (โอ ยิร)

วคิ

ขญฺชคตฺยํ

ขาเขยก; ไป, ถึง, บรรลุ

วงฺคติ, วงฺคเต
วงฺคํ ตะกั่ว, ดีบุก. 
วงฺคา แคว้นวังคะ. 
วงฺคารี หรดาล.

ภู (อ)

ลคิ

ขญฺชนคตีสุ

ขาเขยก; ไป, ถึง

ลงฺคติ
ลงฺคิ, ลงฺคี กลอน.

ภู (อ)

โขร
[โขร, โขล]

ขญฺชเน

เป็นง่อย

ภู (อ)

โขล
[โขร, โขล]

ขญฺชเน

เป็นง่อย

ภู (อ)

ขุฑิ

ขญฺชเน

เดินเขยก, เป็นง่อย

ภู (อ)

สุห

ขนฺติติตฺติยํ

อดทน; ยินดี, ปลื้มใจ

สุยฺหติ
สุหฺยติ ทุกฺขํ มุนิ.

ทิว (ย)

ขมุ

ขนฺติยํ
อดทน, อดกลั้น

ขมติ
ขโม, ขมนํ, ขนฺติ ความอดทน.

ภู (อ)

สห

ขนฺตฺยภิภเว

อดทน; ครอบงำ

สหติ
สพฺพปริสฺสยานิ สหตีติ สีโห ผู้ครอบงำอันตราย, ผู้องอาจ, สิงโต. 
สโห ความอดทน.

ภู (อ)

สห

ขนฺตฺยํ

อดทน

สยฺหติ สเหติ สหยติ
สหนํ ความอดทน.

ทิว (ย), จุร (เณ ณย)

ติช

ขมาพนฺเธ
อดทน; ผูก, ร้อย

ติติกฺขณํ ติติกฺขตีติ วา ติติกฺขา, ขนฺติ ความอดทน

ภู (อ)

ขร

ขยเสกนาสผารุสกมฺปเน
สิ้นไป; รด; พินาศ; หยาบ; หวั่นไหว

ขรติ
นกฺขรนฺติ น ขิยฺยนฺตีติ อกฺขรานิ อักขระ. 
นกฺขตฺตํ นักษัตร. 
ขรตา, ขรตฺตํ ความขรุขระ.

ภู (อ)

กิส

ขียเน
สิ้นไป, ผอมแห้ง

กิสฺสติ
กิโส, กีโส, กิสฺโส, กิสฺสโก คนผอม. 
กิสฺโส โหติ ทุพฺพณฺโณ.

ทิว (ย)

ขุสิ
[ขุสิ, ขุํส]

ขุํสเน
ด่าว่า

ขุํเสติ
ขุํสนา คำด่า, คำบริภาษ. 
ขุํเสนฺโต วมฺเภนฺโต

จุร (เณ ณย)

ขุํส
[ขุสิ, ขุํส]

ขุํสเน
ด่าว่า

ขุํเสติ
ขุํสนา คำด่า, คำบริภาษ. 
ขุํเสนฺโต วมฺเภนฺโต

จุร (เณ ณย)

ปถ

ขฺยาเต
ปรากฏ

ปถติ. ปถิยติ อุจฺจาริยติ อุตฺตมตฺเถนาติ ปถมํ
ปถยติ, ปาถยติ
ปถมํ ปฐมํ วา ที่หนึ่ง, ก่อน.

ภู (อ), จุร (เณ ณย)

ขี

ขเย

สิ้นไป

ขยติ, ขียติ. ขโย, ขียนํ. ขํ ความสิ้นไป, ว่าง, ฟ้า.
ขีโณติ, ขีณาติ.
ขีณา ชาติ.  ขีโณ.
คำว่า ขียติ นี้ถ้าเป็นภูวาทิคณิกธาตุให้แปลง อี เป็น อีย,
ถ้าเป็นทิวาทิคณิกะก็ลง ย ปัจจัย.

ภู (อ), ทิว (ย), สุ (ณุ ณา อุณา)

พฺยป

ขเย
สิ้นไป

พฺยาปายติ, พฺยาปายเต.

จุร (เณ ณย)

เช

ขเย

สิ้น, เสื่อมไป

ชยติ, ชายติ, ชียติ. แปลง เอ เป็น อีย ได้บ้าง.

ภู (อ)

ขิ

ขเย
สิ้นไป

ขิยนธมฺมํ ขียติ
ขียนฺติ กิเลสา เอตฺถาติ ขโย, มคฺคนิพฺพานานิ. 
ราคกฺขโย เขโม
ตตฺถ ขโยติ ขิยนํ ขโล
บทว่า ขีโณติ, ขีณา ชาติ, ขีณาสโว ทำตัวอีกแบบหนึ่ง โดยแปลง ต ปัจจัยเป็น อีณ แล้วทีฆะ อีณ เป็น อีณา.

ภู (อ), ทิว (ย), สุ (ณุ ณา อุณา)