อักษรย่อ และเครื่องหมาย ในหนังสือธาตุปฺปทีปิกา
ส. | สัททนีติ สมุดที่ข้าพเจ้ากล่าวในคำนำ | ||
สูจิ. | อภิธานัปปทีปิกาสูจิ เวลานี้ มีทั้งอักษรไทย อักษรสีหล | ||
อ. | อภิธานัปปทีปิกา ทั้งฉบับของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า และฉบับสีหล, อช. เฉพาะฉบับต้น อส. เฉพาะฉบับหลัง | ||
ก. | กิริยา (ทางบาลี ก็คือเฉพาะกิริยาอาขยาต) | ||
น. | นาม | ||
ค. | คุณ | ||
กน. | กิริยานาม (ภาวสาธนะ) ซึ่งในภาษาไทยบัญญัติให้แปลว่า 'ความ' เช่น กรณํ ความทำ คมนํ ความไป เป็นอาทิ | ||
กค. | กิริยาคุณ คือ ศัพท์ที่ประกอบด้วย ต อนฺต มาน อนีย ตพฺพ ปัจจัย ซึ่งใช้เป็นคุณก็ได้ เบ็นกิริยาในพากยางค์ก็ได้ | ||
ภน. | ภาวนาม คือนามที่ประกอบด้วยภาวะ (ภาวตัทธิต) เช่น การุญฺญํ เสริตา ปาโมชฺช เป็นอาทิ | ||
อก. | อพฺยยกิริยา คือกิริยาที่คงที่ ไม่เปลี่ยนรูปเลย ได้แก่ ศัพท์ที่ประกอบด้วย ตฺวา ตฺวาน ตูน บัจจัย และที่แปลงรูปจากปัจจัยทั้ง 3 นี้ | ||
อพ. | อพฺยยศัพท์ | วตฺ. | วตฺตมานา |
ป. | ปุลลิงค์ | ปญฺ. | ปญฺจมี |
นป. | นปุํสกลิงค์ | สต. | สตฺตมี |
อิ. | อิตถีลิงค์ | ปโร. | ปโรกฺขา |
บุพ. | บุพพบท หรือ บทต้น | อชฺ. | อชฺชตฺตนี |
วิ่. | วิคฺคห หรือ วิเคราะห์ | หีย. | หียตฺตนี |
อา. | อาคตฏฺฐาน คือที่มาของศัพท์ | ภวิ. | ภวิสฺสนฺติ |
อุ. | อุทาหรณ์ | กาลา. | กาลาติปตฺติ |
ปจฺ. หรือ ปัจ. | ปจฺจย หรือ ปัจจัย | ||
เอก. | เอกวจนะ | ภู. | หมวด ภู ธาตุ |
พหุ. | พหุวจนะ | รุ. | หมวด รุธ ธาตุ |
ท. | ทั้งหลาย | ทิ. | หมวด ทิวุ ธาตุ |
สํ. | สํสกฤต | สุ. | หมวด สุ ธาตุ |
กี. | หมวด กี ธาตุ | ||
กมฺ. | กมฺมวาจก | ค. | หมวด คห ธาตุ |
กตฺตุ | กตฺตุวาจก | ต. | หมวด ตนุ ธาตุ |
เหตุ./เหตุกตฺตุ./การิต | เหตุกตฺตุวาจก | จุ. | หมวด จุร ธาตุ |
+ | บวก หรือ ประสม | ||
= | เท่ากับ หรือ ได้แก่ หรือ คำหลังเเป็นคำไขของคำหน้า |
ความคิดเห็น