พจนานุกรมไทย-บาลี
ศัพท์ไทย | ศัพท์บาลี | หมวดหมู่ | ||
---|---|---|---|---|
ใคร่ครวญ |
น. นิสนฺติ, นิสามน., อาวชฺชน., อุปธารณา, อุปนิชฺฌายน., ปจฺจเวกฺขณ., ปฏิสงฺขา, ปริวิตกฺก. ก. อนุวิจาเรติ อนุวิจินฺเตติ นิสาเมติ อาวชฺชติ อาวชฺเชติ อุปธาเรติ ปจฺจเวกฺขติ ปฏิสงฺขาติ ปริวิตกฺเกติ |
|||
ใจ |
น. จิตฺต., เจต. มน. วิญฺญาณ., หทย., มานส., อนฺตร., อตฺต. | |||
ใจกรุณา |
ค. ทยาลุ การุญฺญจิตฺต | |||
ใจกลาง |
(เซ็นเตอร์) | น. มชฺฌ., เวมชฺฌ., มชฺฌวตฺติตา, มชฺฌวตฺตน., มชฺฌสาร. ค. มชฺฌิม มชฺฌวตฺติ |
||
ใจกล้า |
ค. วีรชาต | ลักษณะนิสัย | ||
ใจกว้าง |
น. วทญฺญุตา, อุฬารจิตฺตตา, ทานโสณฺฑตา, ค. มหาสย มหชฺฌาสย จาคสีล ทานโสณฺฑ วทญฺญู อุฬารจิตฺต อุฬารหทย อทีนจิตฺต |
ลักษณะนิสัย | ||
ใจขลาด |
ดู ขลาด. | ลักษณะนิสัย | ||
ใจขุ่น |
ค. ปทุฏฺฐจิตฺต ปทุฏฺฐมน | อารมณ์ความรู้สึก | ||
ใจความ |
น. อตฺถ. อธิปฺปาย. อตฺถุปฺปตฺติ, สารตฺถ. อธิปฺเปตตฺถ. เนยฺยตฺถ. | |||
ใจความสำคัญ |
น. สารํส. ปิณฺฑตฺถ. | |||
ใจคอ |
น. อชฺฌาสย. สีล., ปกติ, จิตฺตปกติ, มโนภาว. | ลักษณะนิสัย | ||
ใจงาม |
ดู ใจดี. | ลักษณะนิสัย | ||
ใจง่าย |
ค. สทฺทหนสีล อวิสงฺกี วิเธยฺย | ลักษณะนิสัย | ||
ใจจดจ่อ |
ค. ปสุต นินฺนมานส | |||
ใจจดใจจ่อ |
ก. โอลียติ สํสีทติ | |||
ใจจืด |
ค. อนาทร ปฏิสนฺถารรหิต อทานสีล มจฺฉรี ถทฺธมจฺฉรี มจฺฉริยาภิภูต | ลักษณะนิสัย | ||
ใจชื้น |
ค. อสฺสาทก อครุ สากงฺข อากงฺขี | อารมณ์ความรู้สึก | ||
ใจดำ |
ค. กฐินหทย นิทฺทย นิฏฺฐุร อการุณิก องฺคาราการ | ลักษณะนิสัย | ||
ใจดี |
น. สุหชฺช., ค. สุหท สุหทย สุมน สุจิตฺต สุว หทยาลุ โสมฺม มุทุจิตฺต |
ลักษณะนิสัย | ||
ใจต่ำ |
ค. อกุสลจิตฺต หีนจิตฺต | ลักษณะนิสัย |