พจนานุกรมไทย-บาลี
ศัพท์ไทย | ศัพท์บาลี | หมวดหมู่ | ||
---|---|---|---|---|
แสดงเหตุผล |
ก. เหตุํ ทสฺเสติ | |||
แสดงให้เห็นประจักษ์ |
น. นิทสฺสน., อุตฺตานีกรณ., ก. นิทสฺเสติ ปกาเสติ ปริทีเปติ อุตฺตานีกโรติ วิสทีกโรติ |
|||
แสดงให้เห็นรูปร่าง |
น. เทหนิมฺมาน., | |||
แสดงให้เห็นล่วงหน้า |
ก. ปเคว ทสฺเสติ | |||
แสดงให้เห็นว่าไม่จริง |
สำ. มิจฺฉา ทสฺเสติ, อยถา ทสฺเสติ, วิตถีกโรติ, อสจฺจํ ทีเปติ | |||
แสตมป์ |
(stamp) | น. สาสนมุทฺทา, สาสนลญฺฉน., มุทฺทิกา, | ||
แสน |
น. สตสหสฺส., ลกฺข., | |||
แสนกล |
ค. ส. มายาวี |
|||
แสนงอน |
ค. อุปายาสพหุล โกธน อนตฺตมน, สหสา กุปฺปนสีล | |||
แสนยากร |
น. เสนียากร. (ดู กองทัพ) | |||
แสนยานุภาพ |
น. ยุทฺธเสนาพล., | |||
แสนรู้ |
ดู ฉลาด. | |||
แสนเข็ญ |
ค. นิทฺธน ทุคฺคต ทลิทฺท อนาถ | |||
แสบ |
(แสบร้อน) | ค. ขาร | ||
แสบ |
(ปวดแสบ) | ค. ติณฺห ติขิณ รุชาการ | ||
แสบเข้ากระดูก |
(คำพูด) | ค. มมฺมจฺเฉทก | ||
แสม |
น. ภุชปตฺต. อาภุชี. ปฏฺฏิ, จมฺมี. มุทุตฺตจ. | พืช | ||
แสยง |
น. ภย., อุตฺตาสน., อุพฺเพค. ค. ภีต อสูร อวีร |
|||
แสยงขน |
น. โลมหํส. โลมหํสน., กณฺฏก. ค. หฏฺฐโลม มมฺมจฺเฉทก |
|||
แสยะ |
น. มุขวิการ. |