พจนานุกรมธาตุ

ธาตุ
ธาตุ อรรถ ตัวอย่าง หมวดธาตุ

เวส

คติทาเนสุ

ไป, ถึง, บรรลุ; ให้

เวสตีติ เวสโร, อสฺสตโร ม้าดี. 
เวจฺฉติ, ปเวจฺฉติ
ปเวจฺฉํ, ปเวจฺฉนํ การให้.

ภู (อ)

เวห

ยตเน

พยายาม

เวหติ.

ภู (อ)

เส

คติปากขเย

ไป, ถึง, บรรลุ; หุง, ต้ม, สุก; สิ้นไป

เสติ, สายติ คจฺฉติ เอตฺถ เอเตนาติ วา เสตุ สะพาน. 
สายติ สูริยา ตปํ โลโก.

ภู (อ)

เสก

คเต

ไป, ถึง, บรรลุ

เสกติ, เสกเต.

ภู (อ)

เสล

จาลคเต

ให้หวั่นไหว; ไป, ถึง

เสลติ ปุนปฺปุนํ คจฺฉตีติ เสลุ มะกอก, มะซาง.

ภู (อ)

เสว

อาราธนุปภิญฺชนอาสเย

ยินดี; บริโภค; อาศัย, คบหา, เสพ

เสวติ
เสวนํ, เสวนา การคบหา. 
เสวา หญิงรับใช้, การรับใช้. ราชานํ เสวตีติ เสวโก ข้าราชสำนัก, ผู้รับใช้, ผู้คบ, ผู้เสพ. 
สุขํ เสวติ.

ภู (อ)

เหฐ

พาธเน ภูติปูตินํ อุปฺปตฺติยญฺจ

บีบคั้น; ความเกิดขึ้นแห่งความเจริญและความหมดจด

เหฐติ, วิเหฐติ
วิเหฐนํ ความเบียดเบียน. บทนี้ไม่มีสังโยคที่ ฐ อักษร คือ ไม่เป็นรูป ฏฺฐ

ภู (อ)

เหส

คตฺยสฺสสทฺเทสุ

ไป, ถึง, บรรลุ; เสียงร้องของม้า

เหสติ
เหสา เสียงร้องของม้า. 
เหสเต โฆฏโก ม้าย่อมร้อง

ภู (อ)

เหฬ

อนาทรเวฐเน

ไม่เอื้อเฟื้อ; พัน, รัด

เหฬติ. หิฬติ. ในกัปปทุมะ แปลง เอ เป็น อิ

ภู (อ)

เอ

คตฺยํ

ไป, ถึง, บรรลุ

เอติ, อยติ
สมาโย สมฺปเรตพฺโพติ สมฺปราโย.

ภู (อ)

เอช

กมฺปนทิตฺตีสุ

หวั่นไหว, อยาก; สว่าง, รุ่งเรือง

อาภาทีสุ เอชติ กมฺปตีติ เอชา
เสชํ ติปากํ ติกฺริยํ, 
จตุรูปญฺจ เสชิโน
อเนโช สนฺติมารพฺภ.

ภู (อ)

เอฐ

วิพาธายํ

เบียดเบียน, รบกวน, กำจัด

เอฐติ.

ภู (อ)

เอธ

ลาภวุทฺธีสุ

ได้, เจริญ

เอธติ วฑฺฒติ อคฺคิ เอเตนาติ เอโธ เชื้อไฟ. 
สุเขธิโต ผู้เจริญด้วยความสุข.

ภู (อ)

เอรฑิ

หึสายํ

เบียดเบียน

เอรณฺฑติ โรคํ หึสตีติ เอรณฺโฑ ต้นละหุ่ง

ภู (อ)

เอส

คติเอสนวุทฺธิสุ

ไป, ถึง, บรรลุ; แสวงหา, เจริญ

เอสติ
ปริเยสนา, ปริเยฏฺฐิ การแสวงหา.

ภู (อ)

เอสุ

คตฺยํ

ไป, ถึง, บรรลุ

เอสติ เอสฺสติ เอสฺสนฺตํ คิริทุคฺเคสุ
ในคัมภีร์ ส่วนมากใช้ เอส ธาตุ.

ภู (อ)

โกฏฺฏ

เฉทเน

ตัด, ทุบ

ปาสาณํ โกฏฺฏติ โกฏฺเฏตีติ ปาสาณโกฏฺฏโก คนทุบหิน. โกฏฺฏิตกณฺฑลมกุฬํ.

ภู (อ), จุร (เณ ณย)

โกฏฺฏ

เฉทเน

'ตัด,' สลัก, แกะ; ทุบ-ซ้อม-บด (เมล็ด)

ภู (อ)
[ธป]

โกฏฺฏ

เฉทเน

'ตัด,' สลัก, แกะ; ทุบ-ซ้อม-บด (เมล็ด)

โกฏเฏติ

สยเมว สุวณฺณํ โกฏฺเฏตฺวา แกะสลัก-ตัดแทง-บุทองคำเอาเองทีเดียว ธมฺอ. 2/23. ตทา โพธิสตฺโต ตสฺมึ ปุราณคามฏฺฐาเน ปาสาเณ อุปฺปาเตตฺวา โกฏฺเฏติ กาลนั้น พระโพธิสัตว์งัดหิน ท. ในที่แห่งบุราณคามนั้นขึ้นแล้ว ตัดแทง-สลัก-แกะอยู่* ชาอ. 2/366. เต เคหสมฺภารทารูนิ โกฏฺเฏตฺวา นายช่างเหล่านั้น ตัดไม้เป็นสัมภาระแห่งเรือน ท. แล้ว ชาอ. 3/23.

โกฏฺฏก ค. ผู้สลัก, ผู้แกะ, ผู้ตัด. โพธิสตฺโต ปาสาณโกฏฺฏกกุเล นิพฺพตฺติตวา พระโพธิสัตว์เกิดในตระกูล แห่งช่างสลัก-แกะหิน,* ปาสาณโกฏฺฏกมณิกาโร ช่างแก้วผู้… ชาอ. 2/365-68.

โกฏฺฏน นป. ความตัด-สลัก-แกะ; ความทุบ-ซ้อม-บด (เมล็ด) สหตฺถา โกฏฺฏนปจนาทีนิ กโรนฺตี ทำกิจมีซ้อมข้าว แลหุงข้าวเป็นต้น ด้วยมือของตนอยู่ ธมฺอ. 4/596. เตสํ ทารุโกฏฺฏนสทฺทํ สุตฺวา ได้ยินเสียงแห่งอันตัด-เลื่อยไม้ แห่งช่างไม้พวกนั้น ชาอ. 3/24.

โกฏฺเฏนฺเต [โกฏฺฏ+อนฺต ปัจ.] กค. ตัดอยู่. ทารูนิ โกฏฺเฏนฺตานํ เมื่อนายช่างไม้ต้ดไม้ ท.  อยู่ ชาอ. 3/23.

* ในมังคลัตถทีปนีภาค 1/156 มีว่า อเถโก มณิกาโร ปาสาเณ โกฏฺเฏตวา มณึ คณฺหิตุกาโม
ตสฺมึ ปุราณคามฏฺฐาเน ปาสาเณ อุทฺธริตฺวา โกฏฺเฏสิ.  บอกชัดว่า ทุบหินหาแก้วมณี. โกฏฺฏธาตุนี้ หมายความว่าทุบก็ได้ ตอกก็ได้ เช่น ตอกหลัก มีนกชนิดหนึ่งเรียกว่า รุกฺขโกฏฺฏโก (wood pecker) เห็นจะเพราะมันเอาปากเจาะต้นไม้หาหนอน. เราแปลกันว่านกหัวขวาน ทาง สํ. ก็มี แต่เป็น กาษฺฐกฺุฏฺฏ.

จุร (เณ ณย)
[ธป]

โขฏ

เขปเน

ซัดไป, ขว้าง, ทิ้ง

โขฏติ
โขฑ ธาตุก็มีบ้าง.

จุร (เณ ณย)