กร

อรรถของธาตุ
กรเณ

ทำ

ตัวอย่าง

กโรติ กยิรติ กุพฺพติ กฺรุพฺพติ; กมฺม-กรียติ กริยฺยติ กยิรติ กยฺยติ; การิต-กาเรติ การยติ การาเปติ การาปยติ; กโต กุรุมาโน กโรนฺโต; การณํ กิริยา กฺริยา กรณํ กตฺตา ฯเปฯ

  • กยิรติ นี้ เป็นได้ทั้ง กตฺตุ และ กมฺม. 
    กตฺตุ ดังบาลีว่า ปุริโส กมฺมํ กยิรติ ชายทำการงาน. 
    กมฺม ดังบาลีว่า กุฏิ เม กยิรติ อเทสิตวตฺถุกา กุฎีมีวัตถุยังไม่ได้แสดงแล้ว อันข้าพเจ้าย่อมทำ หรือ ข้าพเจ้าทำกุฎีมีวัตถุอันยังมิได้แสดงแล้ว. กตฺตุ ยิร ปัจ. กมฺม วณฺณวิปริยย คือ กลับอักษร - ส.
  • การณํ  เหตุ, การณ์, 'ทำผล' วิ. อตฺตโน ผลํ กโรตีติ การณํ - ส. กร ประกอบด้วย ตุํ ตฺวา ปัจ. เป็นต้น เป็นรูปดังนี้ กาตุํ กตฺตุ กาตเว กาเรตุ กตฺวา กตฺวาน กาตูน กริตฺวา กริตฺวาน กจฺจ อธิกจฺจ กรีย กรียาน ปุรกฺขตฺวา กาเรตฺวา ฯเปฯ - ส.
    อา. ปทกฺขิณํ กจฺจ ทำประทักษิณแล้ว '=ปทกฺขิณํ กตฺวา.' อธิกจฺจ ทำให้ยิ่ง '=อธิกํ กตวา' ไม่ใช่ อธิกิจฺจ - ส.

ส. แสดงบทมาลาโดยพิสดาร ด้งต่อไปนี้ :-

แจก กุพฺพติ
วตฺ. – กุพฺพติ กุพฺพนฺติ, กุพฺพสิ กุพฺพถ, กุพฺพมิ กุพฺพม; กุพฺพเต กุพฺพนฺเต, กุพฺพเส กุพฺพเวฺห, กุพฺเพ กุพฺพเมฺห. ฯเปฯ

แจก กโรติ
วตฺ. – กโรติ กโรนฺติ, กโรสิ กโรถ, กโรมิ-กุมฺมิ กโรม-กุมฺม; กุรุเต กุพฺพนฺเต, กุรุเส กุรุเวฺห, กเร กรุเมฺห.
ปญฺ. – กโรตุ-กรุตุ กโรนฺตุ, กโรหิ กโรถ, กโรมิ-กุมฺมิ กโรม-กุมฺม; กุรุตํ กุพฺพนฺตํ, กรสฺสุ-กรุสฺสุ กุรุโวฺห, กเร กุพฺพามเส.
สตฺ. – กเร-กเรยฺย กเรยฺยุํ, กเรยฺยาสิ กเรยฺยาถ, กเรยฺยามิ กเรยฺยาม; กุพฺเพถ กุพฺเพรํ, กุพฺเพโถ กุพฺเพยฺยโวฺห กเร-กเรยฺยํ กเรยฺยาเมฺห,
ปโร. – กร กรุ, กเร กริตฺถ, กร กริมฺห กริถ กริเร, กริตฺโถ กริโวฺห, กริ กริเมฺห.
หีย. – อกรา อกรุ, อกโร อกรตฺถ-อกตฺถ-อกโรถ, อกร-อกํ, อกรมฺหา-อกมฺห; อกตฺถ อกตฺถุํ, อกุรุเส อกรวหํ, อกรึ-อกรํ อกรมฺหเส.
อชฺ. – อกรี-กรี-อกริ-กริ-อกาสิ  อกรุํ-อกรึสุ-อกํสุ-อกาสุํ, อกโร อกริตฺถ-อกาสิตฺถ, อกรึ-กรึ-อกาสึ อกริมฺหา-อกาสิมฺหา; อกรา อกรุ, อกรุเส อกริวหํ, อกร อกริเมฺห.
ภวิ. – กริสฺสติ กริสฺสนฺติ, กริสฺสสิ กริสฺสถ, กริสฺสามิ กริสฺสาม; กริสฺสเต กริสฺสนฺเต, กริสฺสเส กริสฺสเวฺห, กริสฺสํ-กสฺสํ กริสฺสาเมฺห.
อา. กสฺสํ ปุริสกิจฺจานิ ข้าพเจ้าจักทำกิจของชาย ท.-ส.

อีกอย่างหนึ่ง แปลง กร เป็น กาห (สำหรับ ภวิ.) แจกดังนี้ :-
กาหติ กาหนฺติ, กาหสิ กาหถ, กาหามิ กาหาม; กาหิติ กาหินฺติ, … กา.-อกริสฺสา อกริสฺส, …

แจก กยิรติ
วตฺ. – กยิรติ กยิรนฺติ, กยิรสิ กยิรถ, กยิรามิ กยิราม; กยิรเต กยิรนฺเต, …
ปญฺ. – กยิรตุ กยิรนตุ, …
สตฺ. – กยิรา-กุยิรา กยิรุํ, …
อา. กุมฺภิมฺหิ ปญฺชลึ กุยิรา วาตญฺจาปิ* ปทกฺขิณํ - ส. ฯเปฯ

(ธาตุนี้มีที่ใช้มากนัก จึงนำมาไว้ตามที่ท่านแจก)

* ในวิธุรชาดก ชาตกฏฺฐกถา 10/265 เป็น กยิรา วายสํ วาปิ.

หมวดธาตุ
ตน (โอ ยิร)
คาถา/หน้า
460
ที่มา
ธป

Comments

Restricted HTML

  • Allowed HTML tags: <a href hreflang> <em> <strong> <cite> <blockquote cite> <code> <ul type> <ol start type> <li> <dl> <dt> <dd> <h2 id> <h3 id> <h4 id> <h5 id> <h6 id>
  • Lines and paragraphs break automatically.
  • Web page addresses and email addresses turn into links automatically.