สเจ (เจ) – ประโยค เงื่อนไข – อนุประโยค | ประโยคหลัก – มุขยประโยค |
---|---|
ใช้กับเหตุการณ์/เงื่อนไข ที่เป็นจริงเสมอ หรือข้อเท็จจริงในปัจจุบัน ประโยค สเจ ใช้ได้ทั้งวิภัตติในหมวดวัตตมานา ภวิสสันติ และสัตตมี |
|
วัตตมานา เป็นจริงเสมอ | |
วัตตมานา | วัตตมานา |
มนสา เจ ปทุฏฺเฐน ภาสติ วา กโรติ วา, มนสา เจ ปสนฺเนน ภาสติ วา กโรติ วา, |
ตโต นํ ทุกฺขมเนฺวติ. ตโต นํ สุขมเนฺวติ. |
วัตตมานา ปัจจุบัน ขณะพูด | |
วัตตมานา | วัตตมานา |
สเจ เม เทโว นิสฺสโย โหติ, ข้าแต่สมมติเทพ ถ้าสมมติเทพ ทรงเป็นที่พึ่งของข้าพระองค์ |
กลฺยาณํ เทว. ก็เป็นการเหมาะดี |
ภวิสสันติ | วัตตมานา |
สเจ ตฺวํ ภิกฺขุ เอกเมว รกฺขิตุํ สกฺขิสฺสสิ, | อวเสสานํ รกฺขนกิจฺจํ นตฺถิ. |
สจาหํ ตตฺถ คมิสฺสามิ, | ชีวิตํ เม นตฺถิ. |
สเจ (เจ) – ประโยค เงื่อนไข – อนุประโยค | ประโยคหลัก – มุขยประโยค |
---|---|
อนาคต | |
วัตตมานา | วัตตมานา (ปัจจุบันใกล้อนาคต – จะ...) |
สเจ เม ธีตรํ สปริวารํ คณฺหถ, ถ้าท่านจะรับธิดาของเรา พร้อมทั้งบริวาร |
เทม. ฉันก็จะให้. |
วัตตมานา | ภวิสสันติ (อนาคต– จัก...) |
สเจ มํ สาลาย ปตฺติกํ กโรถ, ถ้าพวกท่านทำฉันให้มีส่วนบุญในศาลาด้วยไซร้ |
ทสฺสามิ. ฉันจักให้. |
สเจ น กเถสิ, ถ้าไม่บอก |
ทฺวิธา ตํ ฉินฺทิสฺสามิ. ข้าจะฟันเจ้าให้เป็น 2 ท่อน |
สเจ มตสรีรํ อาเนตฺวา ฉฑฺเฑนฺติ, | กมฺพลกูฏาคารํ อาโรเปตฺวา คนฺธมาลาทีหิ สกฺการํ กตฺวา สรีรกิจฺจํ กริสฺสามิ. |
สเจปิ อนฺโตเชตวนํ ปวิสติ, | เนว มํ ปสฺสิตุํ ลภิสฺสติ. |
สจสฺส รชฺชํ ปตฺเถสิ, | อหมสฺส รชฺชลภนาการํ กริสฺสามิ. |
สจาหํ อธมฺเมน รชฺชํ กาเรมิ, | ปาเปน อธมฺมิกรญฺญา ทณฺฑพลิอาทีหิ หตมฺหาติ วกฺขนฺติ. |
ภวิสสันติ | ภวิสสันติ |
สเจ สุวณฺณการสฺสาจิกฺขิสฺสามิ, | เวตนํ ทาตพฺพํ ภวิสฺสติ. |
สเจ เวชฺชํ อาเนสฺสามิ, | ภตฺตเวตนํ ทาตพฺพํ ภวิสฺสติ. |
สเจ อุคฺคหิตวตฺโต ภวิสฺสติ, | สตฺถุ นิสีทนปาสาณผลเก อตฺตโน ปริกฺขารํ น ฐเปสฺสติ. |
สเจ เม อกฺขีนิ ปากติกานิ กาตุํ สกฺขิสฺสสิ, | อหนฺเต สทฺธึ ปุตฺตธีตาหิ ทาสี ภวิสฺสามิ. |
สเจ ปนายํ อมฺเห ปหาย กตฺถจิ คมิสฺสติ, | อุโภปิ อิเธว มรณํ ปาปุณิสฺสาม. |
สเจ ตตฺรายํ ภวิสฺสติ, | เสตจฺฉตฺตํ อุสฺสาปยิสฺสติ. |
สเจ เม ปุตฺโต ชายิสฺสติ, | มาเรสฺสามิ นํ. |
สเจ อิจฺฉิสฺสามิ, โน เจ, |
ทสฺสามิ. น ทสฺสามิ. |
คำสั่ง คำขอร้อง | |
วัตตมานา | ปัญจมี (คำสั่ง คำขอร้อง – จง..., ...เถิด, ขอจง...) |
สเจ สกฺโกสิ, | ปพฺพชาหิ. |
สเจ โว ภนฺเต กลโห นตฺถิ, | อถ กสฺมา ยถา อมฺหากํ เคหํ อาคจฺฉนฺตา สพฺเพ เอกโต อาคจฺฉถ. |
สเจ เม น สทฺทหสิ, | ตาสํ วสนฏฺฐานํ คนฺตฺวา อุปธาเรหิ. |
สเจ อุสฺสหสิ, | ปาโต ว อุฏฺฐาย ตาตา อุฏฺฐหถ สกฏานิ สนฺนยฺหถ โคเณ โยเชถ. |
สเจ ธมฺเมน กาเรมิ, | ทีฆายุโก โน โหตุ ราชา. |
สเจ มยฺหํ โทโส อตฺถิ, | ขมถ เม. |
ภวิสสันติ | ปัญจมี |
สเจ ภนฺเต ปฐมุปคโต โรเจสฺสติ, | ตสฺส รุจิยา วสถ. |
สเจ เต สหายโก ภทฺทิยราชา ปพฺพชิสฺสติ, | เตน สทฺธึ ปพฺพชาหิ. |
คำแนะนำ | |
วัตตมานา | สัตตมี (คำแนะนำ – ควร..., พึง...) |
สเจ เต ทานวฏฺฏํ นปฺปโหติ, | อิทํ วิสฺสชฺเชตฺวา ยทูนํ ตํ ปูเรยฺยาสิ. |
สเจ ปโหติ, | ยสฺส อิจฺฉสิ. ตสฺส ภิกฺขุโน ทเทยฺยาสิ. |
สเจ อิทานิ อุโปสถิเกน ภวิตุํ วฏฺฏติ, | อหํปิ ภเวยฺยํ. |
สจายํ อิสิคณสฺส ปานียํ ทเทยฺย, ถ้าหากเทวราชนี้ (พึง)ให้น้ำควรดื่มแก่หมู่ฤาษี |
สาธุ วตสฺส. เป็นการดีหนอ |
วัตตมานา | ตพฺพ อนีย (คำแนะนำ – ควร..., พึง..., ต้อง) |
สเจ กสฺสจิ เคเห นิฏฺฐาเปตฺวา ฐปิตา วิกฺกายิกกณฺณิกา อตฺถิ, | สา ปริเยสิตพฺพา. |
สจสฺส สมณสฺส มยา อตฺโถ นตฺถิ, | อนตฺถิกภาโว วตฺตพฺโพ. |
คำสั่งห้ามทำ | |
วัตตมานา | มา+อัชชัตตนี (= มา+ปัญจมี) |
สเจ โกจิ เสฏฺฐิโน สนฺติกา อาคจฺฉติ, | ตุมฺเห มม อกเถตฺวา เสฏฺฐิปุตฺตสฺส ปฐมตรํ มา กถยิตฺถ. |
สัตตมี | สัตตมี |
สเจ อยฺยา อิมํ เตมาสํ อิธ วเสยฺยุํ, ถ้าพระผู้เป็นเจ้าทั้งหลาย พึงอยู่ ณ ที่นี่ตลอดไตรมาสนี้ |
มยํ สรเณสุ ปติฏฺฐาย สีลานิ คณฺเหยฺยาม. พวกข้าพเจ้า จะพึงตั้งอยู่ในสรณะแล้วถือศีล |
สัตตมี แนะนำ ยอมตาม (อนุญาต/อนุมัติ) พึง, | |
สเจ ลเภถ นิปกํ สหายํ ... สทฺธึจรํ ... ถ้าบุคคลได้สหายผู้มีปัญญารักษาตน ... ไว้เป็นผู้เที่ยวไปด้วยกัน |
จเรยฺย เตนตฺตมโน ... เขาควรมีใจยินดี ... เที่ยวไปกับสหายนั้น |
โน เจ ลเภถ นิปกํ สหายํ สทฺธึจรํ ... ถ้าบุคคลไม่ได้สหายผู้มีปัญญารักษาตน ... ไว้เป็นผู้เที่ยวไปด้วยกัน |
เอโก จเร ... เขาควรเที่ยวไปคนเดียว ... |
สเจ มํ อนุชาเนยฺยาถ, ถ้าคุณตาอนุญาตให้กระผมไซร้ |
อหํ ปพฺพเชยฺยํ. กระผมพึงบวช |
สเจ อนุชาเนยฺยาถ, ถ้าท่านอนุญาตไซร้, |
อหํ จูฬปนฺถกํ ปพฺพาเชยฺยํ. เราพึงให้จูฬปันถกออกบวช |
สัตตมี กำหนด คาดคะเน (เงื่อนไข - ถ้า) พึง, | |
สเจ หิ นิวตฺเตยฺย, ก็ถ้าพระปัจเจกพุทธเจ้านั้น พึงกลับไปไซร้ |
ปุน โส สกลนครวาสีนํ สรีเร อธิมุจฺจิตฺวา ปาณึ ปหริตฺวา หสนเกฬึ กเรยฺย. มารนั้น จะพึงสิงร่างของชาวเมืองทั้งสิ้น แล้วปรบมือทำการหัวเราะเย้ยอีก |
สเจ เม โกโธ อุปฺปชฺเชยฺย, ถ้าความโกรธพึงเกิดแก่เราไซร้ |
ขิปฺปเมว นํ ปฏิวิเนยฺยํ. เราพึงหักห้ามมันเสียพลันทีเดียว |
สเจ เอเต รูปิโน หุตฺวา กตฺถจิ ปกฺขิปิตุํ สกฺกา ภเวยฺยุํ, ถ้ากิเลสเหล่านี้ มีรูปร่าง อันใครๆ พึงสามารถจะเก็บไว้ได้ในที่บางแห่งได้ |
จกฺกวาลํ อติสมฺพาธํ พฺรหฺมโลโก อตินีจโก โอกาโส เนสํ น ภเวยฺย. จักรวาล แคบเกินไป, พรหมโลกก็ต่ำเกินไป, โอกาสของกิเลสเหล่านั้นไม่พึงมี (บรรจุ) เลย |
สเจ พลโกฏฺฐเก เอวํ วิสฺสมนฺโต ตํ อสฺสาเทนฺโต อจฺเฉยฺย, ก็ถ้าว่านักรบนั้น เมื่อพักผ่อนอย่างนั้นในซุ้มเป็นที่พักพล ยินดีซุ้มเป็นที่พักพลนั้น พึงพักอยู่ |
รชฺชํ ปรหตฺถคตํ กเรยฺย. ก็พึงทำราชสมบัติให้เป็นไปในเงื้อมมือของปรปักษ์ |
สเจ ปิณฺฑาย จรนฺโต อิธาคจฺเฉยฺย, หากว่า ท่านเที่ยวบิณฑบาต พึงมาในที่นี้ไซร้, |
อหํ มม อยฺยสฺส ภิกฺขาหารํ ทเทยฺยามิ. ฉันพึงถวายภิกษาหารแก่พระผู้เป็นเจ้าของฉัน |
สเจ มํ ขมาเปยฺย, ถ้าท่านขอโทษอาตมภาพเสีย |
(อนฺตราโย) น ภเวยฺย. อันตรายก็ไม่พึงมี. |
สัตตมี | สัตตมี รำพึง (หวัง) พึง |
สเจปิ อิเม อรญฺญโต มจฺฉมํสาทีนิ วา อาหเรยฺยุํ สุรํ วา กตฺวา ปิเวยฺยุํ อญฺญํ วา ตาทิสํ กมฺมํ กเรยฺยุํ, แม้ถ้าชนเหล่านี้ พึงนำวัตถุทั้งหลาย มีปลาและเนื้อเป็นต้นมาจากป่า, หรือทำสุราแล้วดื่ม, หรือทำกรรมเช่นนั้นอย่างอื่น, |
อหํปิ กิญฺจิ ลเภยฺยํ. เราพึงได้ส่วนอะไรๆ บ้าง |
ภวิสสันติ | สัตตมี |
สจาหํ เอวรูปสฺส ปาปครหิโน ธมฺมครุกสฺส อยฺยสฺส สนฺติกํ น คมิสฺสามิ, | มุทฺธา เม สตฺตธา ผเลยฺย. |
สจายํ ตุจฺฉปาตึ ปสฺสิสฺสติ, | เทวสมาคมํ ปวิสิตุํ น ลภิสฺสาม สีสมฺปิ โน สตฺตธา ผเลยฺย. |
สจาหํ ธนํ อุทฺธริตฺวา วลญฺชิสฺสามิ, | เอเกน ทุคฺคเตน นิธิ อุทฺธริโตติ. มํ คเหตฺวา วิเหเฐยฺยุํ. |
สจาหํ อยุตฺตํ จินฺตยิสฺสามิ, | สห ภณฺฑเกน โจรํ จูฬาย คณฺหนฺตี วิย มํ วิปฺปการํ ปาเปยฺย. |
สเจ (เจ) – ประโยค เงื่อนไข – อนุประโยค | ประโยคหลัก – มุขยประโยค |
---|---|
ใช้กับเหตุการณ์/เงื่อนไข ที่เป็นไปไม่ได้ (ตรงข้ามกับความจริง) |
|
กาลาติปัตติ | สัตตมี |
รูปญฺจ หิทํ ภิกฺขเว อตฺตา อภวิสฺส, ถ้ารูปนี้จักได้เป็นอัตตาแล้วไซร้ |
นยิทํ รูปํ อาพาธาย สํวตฺเตยฺย. รูปนี้ไม่พึงเป็นเพื่ออาพาธ |
สเจ (เจ) – ประโยค เงื่อนไข – อนุประโยค | ประโยคหลัก – มุขยประโยค |
---|---|
ใช้กับเหตุการณ์/เงื่อนไข ที่เป็นไปไม่ได้ (ตรงข้ามกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้ว) |
|
อัชชัตตนี | กาลาติปัตติ |
สเจ มยํ สปฺปายาหารํ น ลภิมฺหา, ถ้าพวกเราไม่ได้อาหารอันเป็นที่สบายแล้วไซร้ |
น โน มคฺคผลปฏิเวโธ อภวิสฺส. การแทงตลอดมรรคและผล คงจักไม่ได้มีแก่พวกเรา (แน่) |
กาลาติปัตติ | กาลาติปัตติ |
สเจ ปนานนฺท นาลภิสฺส มาตุคาโม ตถาคตปฺปเวทิเต ธมฺมวินเย อคารสฺมา อนคาริยํ ปพฺพชฺชํ จิรฏฺฐิติกํ อานนฺท พฺรหฺมจริยํ อภวิสฺส, ก็ถ้าสตรีจักไม่ได้ออกจากเรือนบวช เป็นบรรพชิตในธรรมวินัยที่ตถาคตประกาศแล้ว (ยโต จ โข อานนฺท มาตุคาโม ตถาคตปฺปเวทิเต ธมฺมวินเย อคารสฺมา อนคาริยํ ปพฺพชิโต นทานิ อานนฺท พฺรหฺมจริยํ จิรฏฺฐิติกํ ภวิสฺสติ ปญฺเจวทานิ อานนฺท วสฺสสตานิ สทฺธมฺโม ฐสฺสติ) |
วสฺสสหสฺสํ สทฺธมฺโม ติฏฺเฐยฺย. พรหมจรรย์จักตั้งอยู่ได้นาน สัทธรรมจะพึงตั้งอยู่ได้ตลอดพันปี (ก็ เพราะสตรีออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต ในธรรมวินัยที่ตถาคตประกาศแล้ว บัดนี้ พรหมจรรย์จักไม่ตั้งอยู่ได้นาน สัทธรรมจักตั้งอยู่ได้เพียง 500 ปีเท่านั้น) |
สเจ หิ ตุมฺเห มาทิสสฺส พุทฺธสฺส สมฺมุขีภาวํ นาคมิสฺสถ, ก็ถ้าพวกเจ้าไม่มาสู่เฉพาะหน้าพระพุทธเจ้า ผู้เช่นเราแล้ว |
อหินกุลานํ วิย เวรํ อจฺฉผนฺทนานํ วิย กาโกฬุกานํ วิย จ กปฺปฏฺฐิติกํ โว เวรํ อภวิสฺส. เวรของพวกเจ้า จักได้เป็นกรรมตั้งอยู่ชั่วกัป เหมือนเวรของงูกับพังพอน, ของหมีกับไม้สะคร้อ และของกากับนกเค้า |
สเจ หิ โส น ปพฺพชิสฺส, ก็ถ้าพระเทวทัตนั้น จักไม่ได้บวชไซร้ |
คิหี หุตฺวา กมฺมํ ภาริยํ อกริสฺส. อายตึ ภวสฺส ปจฺจยํ กาตุํ นาสกฺขิสฺส. เป็นคฤหัสถ์ จักได้ทำกรรมหนัก, จักไม่ได้อาจทำปัจจัยแห่งภพต่อไป |
สเจ ตุมฺเห นาคจฺฉิสฺสถ, ถ้าว่าพระองค์จักมิได้เสด็จมาแล้วไซร้ |
นาสฺส มรณํ อภวิสฺส. ความตายจักไม่ได้มีแก่เขาเลย |
สเจ หิ อยํ ปฐมวเย โภเค อเขเปตฺวา กมฺมนฺเต ปโยชิสฺส, ก็ถ้าบุตรเศรษฐีนี้ ไม่ผลาญทรัพย์ให้หมดสิ้น จักประกอบการงานในปฐมวัย |
อิมสฺมึเยว นคเร อคฺคเสฏฺฐี อภวิสฺส. ก็จักได้เป็นเศรษฐีชั้นเลิศในนครนี้แล |
สจายํ เอกสาฏโก ปฐมยาเม มยฺหํ ทาตุํ อสกฺขิสฺส, ถ้าเอกสาฎกนี้จักได้อาจเพื่อถวายแก่เราในปฐมยามไซร้ สเจ มชฺฌิมยาเม ทาตุํ อสกฺขิสฺส, ถ้าจักได้อาจถวายในมัชฌิมยามไซร้ |
สพฺพโสฬสกํ อลภิสฺส. เขาจักได้สรรพวัตถุอย่างละ 16 สพฺพฏฺฐกํ อลภิสฺส เขาจักได้สรรพวัตถุอย่างละ 8 |
สจายํ ปุริโส ตุมฺหาทิสํ อปทิสํ นากริสฺส, ถ้าบุรุษนี้จักไม่ได้กระทำการอ้างบุคคลผู้เช่นกับด้วยพระองค์แล้วไซร้ |
น ชีวิตํ ลภิสฺส. เขาจักไม่ได้ชีวิต |
กาลาติปัตติ | ภวิสสันติ |
สจายํ ปุริโส อิตฺตรสตฺโต อภวิสฺส, ถ้าบุรุษผู้นี้จักได้เป็นคนเล็กน้อยไซร้ |
น อมฺหากํ อาจริโย เอวรูปํ อุปมํ อาหริสฺสติ. ท่านอาจารย์ของพวกเราคงไม่ชักสิ่งเห็นปานนี้มาอุปมา |
สัตตมี | วัตตมานา |
สเจ มยา น ทิฏฺฐํ อสฺส, ถ้าเราไม่เห็นหนังสือ |
นตฺถิ ตสฺส ชีวิตํ. เขาคงไม่มีชีวิตอยู่. (แต่เราเห็นแล้ว เขาจึงยังมีชีวิตอยู่) |
ความคิดเห็น