ทา

อรรถของธาตุ
ทาเน

ให้, ยกให้, ถวาย

ตัวอย่าง

ททาติ เทติ ทานํ เทยฺยํ ทินฺนํ ทายโก ทายิกา ทาตุํ ปทาตุํ ทตฺวา ททิตฺวา ททิย ทชฺช*

  • ทานํ  นป. ทาน, ความให้; ความบริจาค; ความบริสุทธิ์, ความชำระ; ความขาด, ความเป็นท่อน; ความเกี่ยว, ความตัด; ความสิ้น, ความเสื่อม; น้ำมันเมาของช้าง (รูปสัมฤทธิเหมือนกัน แต่อรรถของธาตุต่างๆ กัน).
  • เทยฺยํ  ค. ควรให้,
  • ทินฺนํ  กค. ให้แล้ว.
  • ทายโก  ป. ทายก, ผู้ให้ (ชาย)
  • ทายิกา  อิ. ทายิกา, ผู้ให้ (หญิง)
  • ทาตุํ ปทาตุํ  ความให้, เพื่อจะให้.
  • ทตฺวา ททิตฺวา ททิย ทชฺช  อก. ให้แล้ว.

* เป็น ทชฺชา ก็มี. ในยมกปฺปาฏิหาริยวตฺถุ ธมฺมปทฏฺฐกถา ภาค 6/89 มีใช้ว่า ทชฺชา ทานํ ปริตฺตกํ  ท่านแก้ว่า ทชฺชาติ ทตฺวา.

ทา ถ้ามี อา นำ ว่า ถือ, ยึดถือ สัมฤทธิรูปดังนี้:-

  • อาททาติ, อาเทติ ก. ถือ, สีลํ อาททาติ ถือศีล - ส.
  • อาทิยติ ก. กมฺม  สีลํ อาทิยติ ศีลอันบุคคลถือ  เป็นรูป สมาทิยติ [สํ+อา+ทา] ก็ได้ - ส.
  • อาทานํ กน. ความถือ ความยึด.
  • สมาทานํ กน. สมาทาน, ความถือมั่น [สํ+อา+ทา].
  • อาทเปติ, สมาทเปติ, อาทปยติ, สมาทปยติ, ก. เหตุ  ให้ถือ, ให้ยึดถือ
    อา. เย ธมฺมเมวาทปยนฺติ สนฺโต สัตบุรุษ ท. พวกใด ให้บุคคลถือธรรมอย่างเดียว - ส.

ทา ที่แปลว่า ให้ มีที่ใช้มาก ดังนั้นจะนำบทมาลา ใน ส. มาแสดงไว้ ดังต่อไปนี้:-

วตฺ.- ททาติ ททนฺติ, ททาสิ ททาถ, ททามิ ททาม; ฯเปฯ.
ปญฺ.- ททาตุ ททนฺตุ, ททาหิ ททาถ, ททามิ ททาม; ฯเปฯ.
สตฺ.- ทเทยฺย-ทเท ทเทยฺยุํ-ทชฺชํ, ทเทยฺยาสิ-ทชฺชาสิ-ทชฺเชสิ ทเทยฺยาถ-ทชฺชาถ, ทเทยฺยามิ-ทชฺชามิ, ทเทยฺยาม-ทชฺชาม;
ทเทถ ทเทรํ, ทเทโถ ทเทยฺยวโห-ทชฺชวโห, ทเทยฺยํ-ทชฺชํ, ทเทยฺยามฺเห-ทชฺชามฺเห.
อา. ทชฺชา สปฺปุริโส ทาน สัตบุรุษพึงให้ทาน.
มาตา ปิตา จ เต ทชฺชุํ มารดาและบิดาพึงให้แก่ท่าน.
ทชฺชาสิ อภยํ มม ท่านพึงให้อภัยแก่ข้าพเจ้า.
สีลวนฺเตสุ ทชฺเชสิ ทานํ มทฺทิ ยถารหํ  มัทรี เธอพึงให้ทานในผู้มีศีล ท. ตามควร - ส.
ปโร.- ทท ททุ-ททู, ทเท ททิตฺถ, ทมํ ททิมฺห; ฯเปฯ.
หีย.- อททา อททุ, อทโท อททตฺถ, อททํ อททมฺหา; ฯเปฯ.
อชฺ.- อททิ อททุํ-อททึสุ, อทโท อททิตฺถ, อททึ อททิมฺหา; ฯเปฯ.
ภวิ.- ททิสฺสติ ททิสฺสนฺติ, ฯเปฯ.
กาลา.- อททิสฺสา-ททิสฺสา, อททิสฺสํสุ-ททิสฺสํสุ, ฯเปฯ

ทา ที่แจกมานี้ อย่างใช้เป็นรูป ทท (อพฺภาส),
ที่ใช้เป็นรูป ท ตัวเดียว (ไม่ใช่ อพฺภาส) แจกดังนี้:-
วตฺ.- เทติ เทนฺติ, เทสิ เทถ, เทมิ เทม; ฯเปฯ.
ปญ.- เทตุ เทนฺตุ, ฯเปฯ.
สตฺ. กับ ปโร. ไม่มีที่ใช้เลย.
หีย. กับ อชฺ. มีใช้เฉพาะคำ ตาม อา. คือ อทา ทานํ ปุรินฺทโท ท้าวบุรินทท (พระอินทร์) ได้ให้ทานแล้ว.
วรญฺเจ เม อโท สกฺก ข้าแต่สักกะ ถ้าพระองค์ได้ประทานพรแก่ข้าพเจ้า.
พฺราหฺมณานํ อทํ คชํ ข้าพเจ้าได้ให้ช้างแก่พราหมณ์ ท.
อทาสิ เม ได้ให้แล้วแก่เรา
อทํสุ เต มโมกาสํ เขาได้ให้โอกาสแก่ข้าพเจ้า - ส.
ภวิ.- ทสฺสติ ทสฺสนฺติ. ฯเปฯ.
กาลา.- อทสฺสา-ทสฺสา, อทสฺสํสุ ทสฺสํสุ, ฯเปฯ.

หมวดธาตุ
ภู (อ)
คาถา/หน้า
333
ที่มา
ธป

Comments

Restricted HTML

  • Allowed HTML tags: <a href hreflang> <em> <strong> <cite> <blockquote cite> <code> <ul type> <ol start type> <li> <dl> <dt> <dd> <h2 id> <h3 id> <h4 id> <h5 id> <h6 id>
  • Lines and paragraphs break automatically.
  • Web page addresses and email addresses turn into links automatically.