ประมวลศัพท์บาลีตามหมวดหมู่

  * เมื่อคลิกลิงค์แล้ว กดปุ่ม [Home] บนคีย์บอร์ด เพื่อกลับมายังตำแหน่งต้นเอกสารได้

ปรับปรุง 12 เม.ย.65

  • นามนาม: ตัวหนา = ปุงลิงค์   ตัวหนาเอียง = นปุงสกลิงค์   ตัวหนาขีดเส้นใต้ = อิตถีลิงค์
  • นิบาต อัพยยศัพท์ = ตัวหนาเอียงขีดเส้นใต้,  คุณนาม = ตัวหนาสีเขียว
  • ค้นหาศัพท์ในหน้านี้ ได้อย่างรวดเร็ว โดยการกด Ctrl+F แล้วพิมพ์อักษร/คำ ที่ต้องการค้นหา

 

สัตว์โลก

  • สัตว์ (ทั้งมนุษย์และอมนุษย์) ชนฺตุ  ‘ผู้เกิด’ สตฺโต  ‘ผู้ติด(อยู่ในโลก)’ ภูโต ภูตํ*; ปาโณ ปาณภูโต  ‘มี ปราณ/ลมหายใจ/ชีวิต’
  • หมู่สัตว์ หมู่ชน สัตว์โลก ปชา
  • กำเนิดสิงโต สีหโยนิ (เกิดเป็นสิงโต) กำเนิดกา กากโยนิ (~กา)

บุคคล  (เป็น ปุ. หรือ อิต. เท่านั้น)

  • ตน อตฺตา [อตฺต]
  • พรหม พฺรหฺมา [พฺรหฺม]
  • เทวดา เทโว เทวตา อมโร สุโร
  • เทวบุตร เทพธิดา เทวปุตฺโต เทวธีตา [-ตุ]
  • นางอัปสร นางฟ้า อจฺฉรา
  • พระอินทร์ สกฺโก เทวราชา มฆวา
    อินฺโท วชิรปาณิ
  • ยักษ์ ยักษิณี ยกฺโข ยกฺขินี
  • ผีเสื้อน้ำ รากษส รกฺขโส รกฺขสี (ยักษ์ชั้นต่ำ ดุร้าย อยู่ในทะเล สระใหญ่)
  • เปรต เปโต
  • สัตว์นรก เนรยิโก
  • ดิรัจฉาน ติรจฺฉาโน ติรจฺฉานคโต
  • อสุรกาย อสูร อสุโร อสุรกาโย
  •  
  • ชน คน ชโน  ‘ผู้เกิด’ (ไม่เจาะจงว่าชายหรือหญิง)
  • บุคคล ปุคฺคโล (ไม่เจาะจงว่าชายหรือหญิง)
  • มนุษย์ คน มนุสฺโส (ไม่เจาะจงว่าชายหรือหญิง และไม่ได้ใช้ในความหมายพิเศษสูงกว่าคำว่า ชน นร)
    มนุสฺสี (ไม่มีใช้)
  • คน นโร (ไม่เจาะจงว่าชายหรือหญิง) นารี
  • ผู้ชาย บุรุษ ปุริโส ปุมา [ปุม] โปริโส โปโส (ไม่เจาะจงว่าชายหรือหญิงบ้าง) มานโว
  • ผู้หญิง หญิง สตรี อิตฺถี ถี
  • มาตุคาม ผู้หญิง มาตุคาโม 'ถึงความเป็นแม่'
  • มหาชน มหาชโน (เป็นเอกวจนะเท่านั้น ในความหมายพหุวจนะ)
  • บริษัท ประชุมชน ปริสา
  • เด็ก พาลโก ทารโก ทาริกา กุมาโร กุมารี กุมารโก กุมาริกา มาณวโก มาณวิกา ยุวา กญฺญา
  • เด็กน้อย พาลโก พาลทารโก พาลทาริกา กุมารโก กุมาริกา
  • เด็กเล็ก พาลโก กุมาโร โปโต โปตโก
  • เด็กทารก เด็กอ่อน เด็กแดง อุตฺตานสโย-สยโก-เสยฺยโก ถนโป ถนปา ถนปายี ถนปายินี  ‘ดื่มจากเต้านม’ ขีรปายี ขีรปายินี พาโล ตรุณทารโก
  • เด็กในท้อง/ครรภ์ คพฺโภ
  • ดรุณ คนหนุ่มสาว ตรุโณ ตรุณี ยุวา [ยุว] ยุวติ ยุวตี มาณโว มาณวโก มาณวิกา วนิตา
  • คนหนุ่ม ภิกษุหนุ่ม ทหโร (ภิกฺขุ)
  • คนแก่  (ผู้ใหญ่ โดยอายุ โดยฐานะ ...) มหลฺลโก มหลฺลิกา
  • หญิงสาว สุตา
  • หญิงสาวน้อย กญฺญา
  • กุลบุตร กุลธิดา กุลปุตฺโต กุลธีตา [-ตุ]
  • เพื่อน มิตร สหาย มิตฺโต สหาโย สหายโก สหายิกา สุหโท สุหชฺโช สขา [สข] สขี; สมฺม สมฺมา (อาลปนะ)
  • เพื่อนที่ไม่เคยพบเห็นกัน อทิฏฺฐปุพฺพสหาโย
  • เพื่อนแบบคนรู้จักกัน (ไม่คุ้นเคยนัก) สนฺทิฏฺโฐ  acquaintance
  • เพื่อนสนิท สมฺภตฺโต วลฺลภมิตฺโต  close friend
  • เพื่อนชั่ว ปาปมิตฺโต  bad friend
  • เพื่อนเทียม มิตฺตปฏิรูปโก  false friend
  • เพื่อนดี เพื่อนแท้ กัลยาณมิตร กลฺยาณมิตฺโต  good/true friend
  • ไม่มีเพื่อน  อสหาโย อสหายโก  friendless
  • พระราชา พระราชินี ราชา [ราช] ราชินี มเหสี
  • พระราชบุตร พระราชธิดา ราชปุตฺโต ราชธีตา [-ตุ]
  • กษัตริย์ นางกษัตริย์ เทวี ขตฺติโย ขตฺติยา ขตฺติยานี เทโว (=สมมุติเทพ) เทว (อาลปนะ)   เทวี
  • 1 กษัตริย์ ขตฺติโย
  •   พระเจ้าจักรพรรดิ จกฺกวตฺติ จกฺกวตฺตี
  •   พระเจ้าแผ่นดิน ภูปติ ภูปาโล
  •   อำมาตย์ อมาตย์ อมจฺโจ
  •   นักรบ ทหาร โยโธ
  • 2 พราหมณ์ พฺราหฺมโณ พฺราหฺมณี
  • 3 แพศย์ พ่อค้า เวสฺโส
  • 4 ศูทร สุทฺโท
  • 0 จัณฑาล จณฺฑาโล
  • ทาส ทาโส ทาสี 
    ทาสในเรือน ฆรทาโส ฆรทาสี
  • คนใช้ จูฬุปฏฺฐาโก ปริจาริโก ปริจาริกา เจโฏ เจฏโก เปสฺโส เสวโก
  • ข้าศึก ศัตรู อริ ริปุ สตฺตุ อมิตฺโต สปตฺโต ปฏิภาโค ปจฺจามิตฺโต ปจฺจตฺถิโก ปจฺจนิโก ปจฺจนีโก
    ปฏิปกฺโข วิปกฺโข
  • คนรวย เศรษฐี กฎุมพี คนมีทรัพย์ เสฏฺฐี กุฏุมฺพิโก กุฏุมฺพี ธนปติ มหทฺธโน สธโน
  • คนจน ทลิทฺโท ทฬิทฺโท (อติ)ทุคฺคโต นิทฺธโน
  • คนกินเดน วิฆาโส วิฆาสาโท
  • คนกำพร้า กปโณ  'อันเขาพึงกรุณา'
  • คนเดินทาง(ไกล) อทฺธิโก
  • คนกำพร้าและคนเดินทาง(ไกล) กปณทฺธิกา อทฺธิกกปณา
  • คนกำพร้าและคนเดินทาง(ไกล)เป็นต้น กปณทฺธิกาทโย อทฺธิกกปณาทโย
  • ผู้หลงในทิศ ผู้หลงทาง  ทิสามูฬฺโห
  • ผู้รู้ วิญญูชน วิญฺญู
  • ผู้เจริญ (แปลโดยอรรถว่า ‘ท่าน…’)
    ภวํ [ภวนฺต] โภโต โภตี; โภ โภติ  (อาลปนะ);
    ภทนฺโต ภทฺทนฺโต ภทฺโท ภทฺทา ภทฺโร
  • ผู้มีอายุ (แปลโดยอรรถว่า ‘ท่าน…’) อายสฺมา [อายสฺมนฺตุ]; อาวุโส (อาลปนะ)
  • เจ้า บดี ปติ
  • ผู้เป็นใหญ่ อธิบดี อธิปติ อิสฺสโร
  • ผู้ใหญ่ มหลฺลโก มหลฺลิกา
  • พระผู้เป็นเจ้า พระคุณเจ้า  (เรียกนักบวช); เจ้า แม่เจ้า นาย สุภาพบุรุษ สุภาพสตรี อยฺโย อยฺยา; อยฺย อยฺเย (อาลปนะ)
  • นาย นายหญิง สามี สามิ(โก) สามินี master    mistress
  • คนมีปัญญา บัณฑิต ปณฺฑิโต ปณฺฑิตปุริโส เมธาวี ภูริ สปฺปญฺโญ
  • คนดี สํ สนฺโต  [สนฺต]; สปฺปุริโส สุโปริโส
    สาธุ สาธุชีวี กลฺยาโณ-ณี กลฺยาณชโน กลฺยาณชฺฌาสโย กลฺยาณชฺฌาสยภูโต
  • ปัณเฑาะก์ ปณฺฑโก
  • ชาวเมือง นาคโร นครวาสี
  • แขก ผู้มาเยือน อาคนฺตุโก อติถิ ปาหุโน ปาหุนโก
  • คนพาล อันธพาล พาโล อนฺธพาโล
  • คนบ้า อุมฺมาโท มตฺโต อุมฺมตฺโต อุมฺมตฺตโก อุมฺมตฺติกา
  • คนง่อย ปีฐสปฺปี dwarf วมโน
  • คนขี้เมา คนเมา นักเลงสุรา โสณฺโฑ สุราโสณฺโฑ
  • หญิงแพ้ท้อง โทหฬินี

สมุหนาม

  • สงฆ์ หมู่ คณะ สงฺโฆ คโณ 
    หมู่ภิกษุ ภิกฺขุสงฺโฆ  หมู่นก ฝูงนก สกุณสงฺโฆ
  • หมู่สัตว์ ปชา มหาชน มหาชโน (เป็นเอกวจนะเสมอ และไม่จำเป็นต้องมีจำนวนมากมาย)
  • หมู่คน/มนุษย์ มานุสโก
  • บริษัท หมู่ ปริสา
  • ภิกษุบริษัท ภิกฺขุปริสา
  • ภิกษุณีบริษัท ภิกฺขุนีปริสา
  • พรหมบริษัท พฺรหฺมปริสา
  • ปริพพาชกบริษัท ปริพฺพาชกปริสา
  • ฝูง หมวด หมู่ พวก ประชุม กอง คณะ พรรค พวก กาโย ขนฺโธ สมุโห สมูโห ราสิ วคฺโค

นักบวช ผู้ประพฤติธรรม

  • พระพุทธเจ้า พุทฺโธ สมฺพุทฺโธ สมฺมาสมฺพุทฺโธ; ทสพโล สพฺพญฺญู มุนินฺโท โลกนาโถ สุคโต มารชิ ชิโน ธมฺมราชา ตถาคโต สยมฺภู อรหํ [อรหนฺต] (อรหันต์สัมมาสัมพุทธะ)
  • พระผู้มีพระภาค ภควา [ภควนฺตุ]
  • พระโพธิสัตว์ โพธิสตฺโต
  • พระนิยตโพธิสัตว์ นิยตโพธิสตฺโต (ผู้จะตรัสรู้แน่นอน)
  • พระมหาบุรุษ มหาปุริโส (พระสัมมาสัมพุทธเจ้าก่อนตรัสรู้)
  • พระขีณาสพ ขีณาสโว-วา  ‘สิ้นอาสวะ’
  • พระอรหันต์ อรหา [อรหนฺต] อรหนฺตี; อเสกฺโข
  • พระอนาคามี อนาคามี-มินี  ‘ไม่กลับมาอีก’
  • พระสกิทาคามี พระสกทาคามี สกิทาคามี-มินี สกทาคามี-มินี  ‘มาครั้งเดียว’
  • พระโสดาบัน โสตาปนฺโน-นา ‘ถึงกระแส(แห่งพระนิพพาน)’
  • อริยะ อริโย-ยา
  • สมณะ สมโณ
  • บรรพชิต ปพฺพชิโต บวชไม่นาน เพิ่งบวช อจิรปพฺพชิโต
  • ภิกษุ ภิกษุณี ภิกฺขุ ภิกฺขุนี
  • ภิกษุคุมก่อสร้าง นวกมฺมิกภิกฺขุ
  • สามเณร สามเณรี สามเณโร สามเณรี
    สมณุทเทส สมณุทฺเทโส (สามเณรผู้มีอายุครบอุปสมบทแล้ว แต่ยังมิได้อุปสมบท)
  • ภิกษุหนุ่มและสามเณร ทหรสามเณรา
  • เถระ เถรี เถโร เถรี
  • อุปัชฌาย์ อุปชฺฌาโย อุปชฺฌายโก
  • สัทธิวิหาริก สทฺธิวิหาริโก สทฺธิวิหารี-รินี  ‘ผู้อยู่ร่วม’ (ผู้บวชกับอุปัชฌาย์โดยตรง)
  • อันเตวาสิก อนฺเตวาสิโก อนฺเตวาสี-สินี  ‘ผู้อยู่ภายใน(การดูแลปกครอง)’ (ศิษย์ผู้มาอยู่ด้วย)
  • สาวก สาวโก สาวิกา
  • อาจารย์ นิสฺสโย  ‘ผู้เป็นที่อาศัย(ของศิษย์)’
  • นิสิต นิสฺสิโต  ‘ผู้อาศัย(อาจารย์)’
  • พราหมณ์ พฺราหฺมโณ-ณี
  • ฤาษี มุนี อิสิ มุนิ
  • นิครนถ์ โยคีเปลือย นิคณฺโฐ อเจลโก ทิฆมฺพโร
  • เดียรถีย์ อัญญเดียรถีย์ ติตฺถิโย อญฺญติตฺถิโย  ‘ผู้มีลัทธิดังท่าเป็นที่ข้าม’ (นักบวชนอกพุทธศาสนา)
  • ปริพพาชก ปริพฺพาชโก-ชิกา
  • ดาบส ตาปโส ตาปสี-สินี
  • โยคี โยคี โยคินี
  • อุบาสก อุบาสิกา อุปาสโก-สิกา
  • ผู้รักษา(ศีล)อุโบสถ อุโปสถิโก-กา

การศึกษา

  • ครู อาจารย์ ครุ อาจริโย สิกฺขาปโก
  • อาจารย์ผู้เป็นประธานในทิศ(ทั้งหลาย) ทิสาปาโมกฺโข (มีชื่อเสียงไปทั่วทิศ)
  • ศิษย์ สิสฺโส
  • นักเรียน นักศึกษา สิกฺขโก อุคฺคหณโก

ครอบครัว ญาติ

ดูแผนผังที่ คําเรียกญาติ (บาลี-ไทย-อังกฤษ)

  • ตระกูล ครอบครัว กุลํ  family
  • ญาติ ญาตโก ญาติ(โก) ญาติกา พนฺธุ  relative
  • ญาติสาโลหิต ผู้ร่วมสายเลือดเดียวกัน (ได้แก่ ปู่-ย่า-ตา-ยาย พ่อ-แม่ ตน ลูก-ลูกของลูก) สาโลหิโต ญาติสาโลหิโต  blood relative
  • คหบดี พ่อเจ้าเรือน หญิงเจ้าเรือน คหปติ(โก) คหปตานี  head of the household
  • หญิงแม่เรือน ฆรณี
  • คฤหัสถ์ ฆราวาส ผู้อยู่ครองเรือน คิหิ คหฏฺโฐ ฆราวาโส  layman laywoman
  • หญิงที่รัก กานดา กนฺตา
  • คู่รัก คนรัก ชู้ ชาโร ชารา ชารี  lover
  •  
  • พ่อ บิดา ปิตา [ปิตุ]  father dad(dy)
  • แม่ มารดา มาตา [มาตุ]  mother mom(my) mum(my)
  • พ่อ แม่ ชนโก ชนิกา ชนนี  ‘ผู้ให้เกิด’
  • พ่อบังเกิดเกล้า ชนิปิตา ชนกปิตา  [-ตุ] father
  • แม่บังเกิดเกล้า แม่ผู้คลอด(ตน) ชนิ(กา)มาตา วิชาตมาตา  [-ตุ] mother
  • แม่นม แม่เลี้ยง พี่เลี้ยงนางนม ธาติ ธาตี  อุปมาตา  [-ตุ] nurse stepmother
  • แม่เลี้ยง มาตุสปตี มาตุสปตฺตี  (หญิงร่วมผัวของแม่) stepmother
  • พ่อเลี้ยง ปิตุสภริโย  (ชายร่วมภรรยาของพ่อ) (เทียบเคียงจาก มาตุสปตี) ทุติยวิวาเห ปิตา [-ตุ] (พ่อในวิวาห์ครั้งที่สอง (ของแม่)) stepfather
  • ฝ่ายพ่อ ข้างพ่อ ปีติปกฺข ปิติโต (โต ปัจ.) paternal; on father's side
    ฝ่ายแม่ ข้างแม่ มาติปกฺข มาติโต (โต ปัจ.) maternal; on mother's side
  •  
  • ลูกชาย บุตร ปุตฺโต โอรโส  son
  • ลูกสาว ธิดา ธีตา [-ตุ] สุตา ทุหิตา [-ตุ] daughter
  • ลูกเลี้ยง ลูกบุญธรรม (เฉพาะลูกที่เขาให้มา) ทตฺตโก ทตฺติโก ทตฺติกา  stepson stepdaughter
  • มีแม่ต่างกัน ต่างแม่กัน เวมาติก
  • มีพ่อต่างกัน ต่างพ่อกัน เวปิติก
  •  
  • พี่น้องชาย ภาตา [-ตุ] ภาติโก  brother
  • พี่น้องหญิง ภคินี  sister
  • พี่ชาย เชฏฺฐภาตา [-ตุ] เชฏฺฐภาติโก เชฏฺโฐ  elder/older/big brother
  • พี่สาว เชฏฺฐภคินี เชฏฺฐา  elder/older/big sister
  • น้องชาย กนิฏฺโฐ กนิฏฺฐภาตา [-ตุ] อนุโช  younger/little brother
  • น้องสาว กนิฏฺฐภคินี กนิฏฺฐา  younger/little sister
  • พี่น้องหญิงชาย ภคินีภาตโร  brother and   sister
  • (พี่น้อง)ร่วมบิดาและ/หรือมารดา  sibling 
    (พี่น้อง)ร่วมบิดาและมารดา เอกมาตุปิตุโก-กา  full sibling 
    (พี่น้อง)ร่วมบิดา เอกปิติโก-กา เอกปิตุโก-กา  paternal half-brother/sister; agnate brother/sister/sibling
    (พี่น้อง) ร่วมมารดา (ท้องเดียวกัน) (โสทริโย-ยา) เอกมาติโก-กา เอกมาตุโก-กา  maternal half-brother/sister; uterine brother/sister/sibling
  • หลาน ลูกของพี่น้องชาย ภาตุปุตฺโต ภาติกปุตฺโต
    ภาตุธีตา ภาติกธีตา [-ตุ]  nephew
  • หลาน ลูกของพี่น้องหญิง ภาคิเนยฺโย
    ภาคิเนยฺยา; ภคินิปุตฺโต ภคินิธีตา (ไม่มีใช้) niece
  • หลาน ลูกของลูก นตฺตา นตฺตา  [-ตุ] นตฺตุธีตา [-ตุ]  grandson granddaughter
  • เหลน ลูกของลูกของลูก ลูกของหลาน
    ปนตฺตา ปนตฺตา [-ตุ]  great-grandson
  • ลุง: พี่ชาย ของ พ่อแม่
    ป้า: พี่สาว ของ พ่อแม่
    น้า: น้องชายหญิง ของแม่
    อา: น้องชายหญิง ของพ่อ
  • ลุง: (พี่ชาย ของ พ่อแม่)
    ฝ่ายพ่อ ปิตุโล  (ปิติปกฺโข) มหาปิตา  (paternal) uncle
    ฝ่ายแม่ มาตุโล  (มาติปกฺโข) มหาปิตา (maternal) uncle
  • ป้า: (พี่สาว ของ พ่อแม่)
    ฝ่ายพ่อ ปิตุจฺฉา ปิตุลานี ปิตุภคินี (ปิติปกฺขา) มหามาตา (paternal) aunt
    ฝ่ายแม่ มาตุจฺฉา มาตุลานี มาตุภคินี (มาติปกฺขา) มหามาตา (maternal) aunt
  • น้า: (น้องชายหญิง ของแม่)
    ชาย มาตุโล จุลปิตา  (maternal) uncle
    หญิง มาตุจฺฉา มาตุลานี มาตุภคินี จุลมาตา (maternal) aunt
  • อา: (น้องชายหญิง ของพ่อ)
    ชาย ปิตุโล จุลปิตา  (paternal) uncle
    หญิง ปิตุจฺฉา ปิตุลานี ปิตุภคินี จุลมาตา (paternal) aunt
  • ปิตุโล
    ลุง (ที่เป็นพี่ชายของพ่อ), ลุงฝ่ายพ่อ =มหาปิตา
    อา (ที่เป็นน้องชายของพ่อ), อาชาย =จุลปิตา
  • มาตุโล
    ลุง (ที่เป็นพี่ชายของแม่), ลุงฝ่ายแม่ =มหาปิตา
    น้า (ที่เป็นน้องชายของแม่), น้าชาย =จุลปิตา
  • ปิตุจฺฉา ปิตุลานี
    ป้า (ที่เป็นพี่สาวของพ่อ), ป้าฝ่ายพ่อ =มหามาตา
    อา (ที่เป็นน้องสาวของพ่อ), อาหญิง =จุลมาตา
      (ปิตุลานี ยังไม่พบที่ใช้)
  • มาตุจฺฉา มาตุลานี
    ป้า (ที่เป็นพี่สาวของแม่), ป้าฝ่ายแม่ =มหามาตา
    น้า (ที่เป็นน้องสาวของแม่), น้าหญิง =จุลมาตา
      (มาตุลานี แปลว่า ป้า/น้าสะใภ้ ก็มี)
  • มหาปิตา [-ตุ] ลุง  ‘พ่อใหญ่’ uncle (มหาปิตา แปลว่า ปู่, ตา ก็มี)
  • มหามาตา [-ตุ] ป้า  ‘แม่ใหญ่’ aunt (มหามาตา แปลว่า ย่า, ยาย ก็มี)
  • จุลปิตา จุลฺลปิตา จุฬปิตา จูฬปิตา [-ตุ] อาชาย, น้าชาย  ‘พ่อน้อย’ uncle
  • จุลมาตา จุลฺลมาตา จุฬมาตา จูฬมาตา [-ตุ] อาหญิง, น้าหญิง   ‘แม่น้อย’ aunt
  •  
  • ลูกพี่ลูกน้อง (ลูกของลุง ป้า น้า อา)  cousin:
    ลูกชายของป้า/อาหญิง/น้าหญิง
    ปิตุจฺฉาปุตฺโต  paternal aunt's son
    มาตุจฺฉาปุตฺโต  maternal aunt's son
    ลูกชายของลุง/อาชาย/น้าชาย
    ปิตุลปุตฺโต  paternal uncle's son
    มาตุลปุตฺโต  maternal uncle's son
    (ถ้าเป็นลูกสาว เปลี่ยน -ปุตฺโต เป็น -ธีตา)
  • ปู่ ตา ย่า ยาย  grandparents
  • ปู่ ตา อยฺยโก ปิตามโห  grandfather grandpa granddad(dy)
  • ตา มหยฺยโก paternal grandmother
  • ย่า ยาย อยฺยกา-ยิกา อยฺยา อยฺยกี-กานี มาตามหา-หี  grandmother grandma
  • ยาย มหยฺยิกา  maternal grandmother
  • ทวด (พ่อ-แม่ของปู่ตาย่ายาย) (เ)ปยฺยโก (เ)ปยฺยิกา  great-grandfather great-grandmother
  • ทวด (พ่อ-แม่ของปู่ย่า) ปปิตามโห ปปิตามหา-หี paternal great-grandfather great-grandmother
  •  
  • สามี ผัว สามี สามิ(โก) ปติ ภตฺตา [-ตุ]  husband
  • เมีย ภรรยา ทาโร ชายา ภริยา ปชาปตี  wife
  • เมียเก่า (ก่อนบวช) ปุราณทุติยิกา (หญิงที่สองผู้มีในก่อน) ex-wife
  • เมียและผัว ชายาปตี ชยมฺปตี ชมฺปตี  spouses
  • ลูกและเมีย ปุตฺตทารํ ปุตฺตทารา
  • พร้อมทั้งภรรยา กับเมีย สปชาปติก  [วางไว้หลังนามเสมอ]
  •  
  • พ่อตา พ่อ(ของ)เมีย; พ่อ(ของ)ผัว
    สสุโร สสฺสุโร  father-in-law
  • แม่ยาย (แม่ของเมีย); แม่(ของ)ผัว
    สสฺสุ สสุรี สสฺสุรี  mother-in-law
  • แม่ผัวและพ่อผัว แม่ยายและพ่อตา
    สสุรา สสฺสุรา สสฺสุสสฺสุรา
  • ลูกเขย (ผัวของลูกสาว) ชามาตา [-ตุ] ธุตุปติ  son-in-law
  • พี่เขย น้องเขย (ผัวของพี่น้องหญิง)
    ภคินีปติโก ภคินีสามิ  brother-in-law
  • พี่ผัว น้องผัว (พี่น้องชายของผัว)
    เทวโร สามิ(ก)ภาติโก  brother-in-law
  • พี่ผัว น้องผัว (พี่น้องหญิงของผัว)
    นนนฺทา สามิ(ก)ภคินี  sister-in-law
  • พี่เมีย น้องเมีย (พี่น้องชายของเมีย)
    สาโล ภริยาภาตา    brother-in-law
  • พี่เมีย น้องเมีย (พี่น้องหญิงของเมีย)
    ภริยาภคินี  sister-in-law
  • (ลูก)สะใภ้ (เมียของลูกชาย)
    สุณิสา วธู วธุกา สุณฺหา  daughter-in-law
  • พี่สะใภ้ น้องสะใภ้ (เมียของพี่น้องชาย)
    ภาตุชายา  sister-in-law
  •  
  • พ่อม่าย วิธโว มตภริโย  widower
  • แม่ม่าย วิธวา มตสามิกา  widow
  • หมัน วญฺฌ  sterile

อาชีพ

  • เสมียน เลขโก
  • เลขานุการ เลขานุกาโร
  • ชาวนา กสโก กสฺสโก
  • คนทำสวน คนเฝ้าสวน อุยฺยานปาโล
  • พ่อครัว สูโท
  • คนทำขนม ปูปกาโร ปูปิโย
  • พ่อค้า วาณิโช วาณิชโก
  • หมอ แพทย์ เวชฺโช
  • ช่างไม้ ถปติ ตจฺฉโก วฑฺฒกี
  • ช่างดอกไม้ มาลากาโร
  • ช่างทอง สุวณฺณกาโร นาฬินฺธโม
  • ช่างเหล็ก กมฺมาโร
  • ช่างปั้น ช่างหล่อ ปฏิมากโร ปฏิพิมฺพกาโร
  • ช่างแกะหิน สิลาวฑฺฒกี
  • ช่างหม้อ กุมฺภกาโร
  • ช่างรองเท้า อุปาหนิโก
  • ช่างฝีมือ ช่างศิลป์ สิปฺปี สิปฺปโก
  • จิตรกร จิตฺตกาโร
  • ช่างตัดผม กัลบก นหาปิโต กปฺปโก
  • ช่างเย็บหนังสือ โปฏฺฐกสิพฺพโก
  • ช่างทาสี วณฺณาเลปโก
  • ช่างย้อม รญฺชโก
  • ช่างทอ ตุณฺณวาโย
  • ช่างทอผ้า เปสกาโร
  • ช่างจักสาน เวโณ
  • ช่างฟอกหนัง จมฺมกาโร
  • ช่างกลึง จุนฺทกาโร
  • ช่างเรียงพิมพ์ วณฺณโยชโก
  • ช่างรถ รถกาโร
  • ช่างยนต์ ยนฺตสิปฺปิ
  • ช่างก่ออิฐ อิฏฺฐกวฑฺฒกี
  • คนขับรถ สารถิ ปาชโก รถาจริโย
  • พ่อค้าเกวียน สตฺถวาโห
  • คนขับเกวียน สากฏิโก
  • พ่อค้าเร่ กจฺฉปุโฏ
  • พ่อค้าข้าว ตณฺฑุลิโก
  • คนขายเนื้อ มาควิโก ปสุฆาตโก
  • คนขายปลา มจฺฉิโก
  • คนขายหมู สูกริโก
  • คนขายยา โอสธิโก
  • คนขายน้ำมัน เตลิโก
  • คนขายเหล้า มชฺชวิกฺกยี โสณฺฑิโก
  • คนขายของหอม คนฺธิโก
  • คนขายไม้ กฏฺฐิโก
  • คนค้าผลิตภัณฑ์ไม้ ทารุภณฺฑิโก
  • คนขายผ้า วตฺถิโก
  • คนขายพรม ปาวาริโก
  • คนขายเครื่องเขียน ลิปิภณฺฑิโก
  • นายหน้า กยวิกฺกยิโก
  • คนเลี้ยงช้าง ควาญช้าง หตฺถิโคปโก
  • คนเลี้ยงโค โคโป โคปาโล โคปาลโก
  • คนเลี้ยงแพะ อชปาโล
  • คนเลี้ยงแกะ เมณฺฑปาโล
  • คนเลี้ยงกวาง เนวาปิโก
  • คนเลี้ยงม้า อสฺสปาโล
  • คนขี่ม้า อสฺสาจริโย
  • คนฝึกม้า อสฺสทมโก
  • นักกฎหมาย นีติเวที
  • นักคณิต คณโก
  • คนพิมพ์ คนประทับตรา มุทฺทาปโก
  • ผู้ประกาศ ปกาสโก
  • หัวหน้าคนงาน กมฺมนฺตนายโก
  • หมอดู อิกฺขณิโก
  • พ่อมด แม่มด หมอดู อิกฺขณิโก-กา ตุลฺยา
  • พราน เนสาโท ลุทฺโท ลุทฺทโก วฺยาโธ
  • พรานนก สากุณิโก
  • ชาวประมง เกวฏฺโฏ มจฺฉพนฺโธ ชาลิโก
  • นักพนัน นักเลงสะกา อกฺขธุตฺโต ชูตกาโร
  • คนเฝ้าประตู ทฺวารปาโล
  • คนเฝ้ายาม ยามิโก
  • คนเฝ้าร้าน อาปณิโก
  • คนหาบหญ้า ติณหารโก
  • โสเภณี คณิกา เวสิยา เวสิ-สี  หญิงแพศยา
  • คนรับจ้าง ภตโก
  • นักพูด นักปราศัย กถิโก
  • นักเขียน คนฺถกาโร
  • กวี กวิ กวี
  • ทูต ทูโต สาสนหโร
  • นักเทศก์ เทสโก
  • นักดนตรี วาทโก
  • นักเล่นพิณ เวณิโก
  • นักร้อง คายโก
  • นักฟ้อน รำ เต้น นโฏ นฏฺฏโก นตฺตโก
  • นักเล่นกล อินฺทชาลิโก
  • นักกีฬา กีฬโก
  • กรรมกร คนใช้แรงงาน กมฺมกโร
  • วณิพก วณิพฺพโก
  • ขอทาน ยาจโก
  • คนคุ้ยขยะ คนเทดอกไม้? ปุกฺกุโส
  • คนโกง คนหลอกลวง วญฺจโก สโฐ
  • โจร ขโมย โจโร เถโน
  • นักเคมี รสายนิโก
  • นักสำรวจ ภูมิมาณโก รชฺชุคาหโก
  • คนซักล้าง รชโก โธวโก
  • คนเฝ้าป่าช้า สุสานโคปโก-ปิกา 
    คนเผาศพ สัปเหร่อ ฉวฑาหโก-หิกา
    คนอยู่ในป่าช้า โสสานิโก

สัตว์ดิรัจฉาน ติรจฺฉานา

(เป็น ปุ. หรือ อิต. เท่านั้น)

  • สัตว์สองเท้า ทฺวิปโท  biped
  • สัตว์สี่เท้า จตุปฺปโท  quadruped
  • สัตว์เท้ามาก พหุปฺปโท
  • สัตว์เลี้ยง (ไว้ใช้งานหรือเป็นอาหาร) ปศุสัตว์ ปสุ(โก) cattle
  • ลูก ลูกสัตว์ ฉาโป ฉาปโก โปตโก โปติกา  cub, calf etc.

สัตว์บก ถลชา

  • สิงโต ราชสีห์ สิงห์ สีโห เกสรี สีหราชา มิคราชา
  • เสือ อชิโน
  • เสือ เสือโคร่ง พฺยคฺโฆ-ฆี วฺยคฺโฆ-ฆี สทฺทูโล
  • เสือดาว เสือเหลือง ทีปิ ทีปินี สทฺทูโล มิคาทโน อชิโน อชินี
  • เสือปลา วิลาโร วิฬาโร พพฺพุ วโก โกนิสาตโก
  • สัตว์ร้าย (เช่น เสือ) วาฬมิโค สาปโท
  • ช้าง หตฺถี หตฺถินี มาตงฺโค กรี กุญฺชโร นาโค นาคี คโช วารโณ กเรณุกา
  • ช้างหนุ่ม ตรุณหตฺถี
  • ช้างแก่ ชิณฺณหตฺถี
  • ช้างน้อย ลูกช้าง หตฺถิจฺฉาโป
  • ช้างตกมัน มตฺตหตฺถี
  • ช้างตัวประเสริฐ วรวารโณ
  • ช้างสะเทิน  (ช้างใกล้วัยหนุ่มสาว) หตฺถิถลโภ
  • ม้า ตุรโค อสฺโส วาโห
  • ม้าอาชาไนย อาชานีโย อาชาเนยฺโย อาชญฺโญ
  • ลา คทฺรโภ-ภี ขโร
  • อูฐ กรโภ
  • เนื้อ กวาง ละมั่ง มิโค สารงฺโค กุรุงฺโค กุรงฺโค อชินโยนิ
  • แกะ แพะ เมณฺโฑ เมณฺฑโก เอฬโก เอฬิกา อวิ; อโช อชี อชา วสฺโส
  • วัว โค โค (ไม่เจาะจงว่าตัวผู้ตัวเมีย) โคโณ คาโว คาวี อุสโภ พลิวทฺโท
  • (แม่)โคนม เธนุ
  • ลูกวัว วจฺโฉ วจฺฉโก วจฺฉตโร วจฺฉตรี
  • ควาย กระบือ มหิโส มหีโส ลุลาโย
  • กระบือบอด อนฺธมหิโส อนฺธมหีโส
  • กระทิง ควโล
  • แรด คณฺฑโก ขคฺควิสาโณ
  • หมี อิกฺโก อจฺโฉ
  • ลิง มกฺกโฏ-ฏี วานโร กปิ
  • ลิงเสน กปิ
  • ชะนี โคนงฺโค โคนงฺคุโล โคนงฺคลี
  • สุนัข หมา สุนโข-ขี โสโณ สา สาโน สาฬูโร กุกฺกุโร-รี
  • ลูกสุนัข กุกฺกุโร-รี
  • สุนัขจิ้งจอก สิคาโล
  • สุนัขป่า หมาไน วโก
  • สุนัขบ้า อติสุโณ อลกฺโก
  • แมว มชฺชาโร-รี วิลาโรวิฬาโร พิฬาโร พพฺพุ(โก)
  • หมู สูกโร วราโห
  • หมูป่า วราโห
  • กระต่าย สโส เปลโก เพลโก
  • กระรอก กลนฺทโก
  • กระรอกบิน กุลิโย
  • กระแต กลนฺทโก
  • หนู มูสิโก-กา อุนฺทุโร
  • เม่น สลฺลโก
  • พังพอน นกุโล อริสปฺโป มงฺคุโส 
    mongoose

สัตว์เลื้อยคลาน

  • จระเข้ สุสุมาโร กุมฺภีโล
  • กิ้งก่า กกณฺฑภโก สรโฏ กกณฺโฏ กกณฺฏโก
  • จิ้งจก ตุ๊กแก สรพู ฆรโคลิกา
  • เหี้ย โคธา
  • เต่า กจฺฉโป กุมฺโม กุมฺมโก
  • งู อหิ อุรโค อลคทฺโท สปฺโป อชคโร ภุชโค สิริสโป สิรึสโป
  • อสรพิษ งูพิษ อาสีวิโส
  • นาค นาโค นาคี
  • นาคราช นาคราชา สปฺปราชา วาสุกี
  • ตะขาบ กิ้งกือ กณฺณชลูกา
  • ตะขาบ สตปที
  • ไส้เดือน คณฺฑุปฺปาโท มหีตลา
  • หอยโข่ง หอยนางรม สิปฺปี สิปฺปิ(กา) สุตฺติ

สัตว์ปีก

  • นก สกุโณ สกุณี สกุณิกา ปกฺขี วิหโค ทฺวิโช
  • นกกระจอก กามี
  • นกกระเรียน โกญฺจา
  • นกยาง พโก
  • นกยูง โมโร มยุโร-รี
  • นกตะกรุม พลากา
  • นกกางเขน องฺคเหตุโก
  • นกดุเหว่า กุณาโล กุณาลโก โกกิโล ปุงฺโกกิโล ปรภโต โอกฺกจโร
  • นกพิราบ กโปโต กกุโฏ ปาราวโต
  • นกเขา อุกฺกุโส กุรโร
  • นกเค้า อุลูโก
  • นกไส้ นกมูลไถ ลฏุกิกา
  • นกเป็ดน้ำ เป็ด ขญฺชโน ขญฺชรีโฏ การณฺฑโว รวิหํโส นทีจโร
  • นกกาน้ำ กาทมฺโพ กาฬกณฺฐโก กาลหํโส กาฬหํโส กาฬกณฺฏโก จงฺกาโร จงฺโกโร ทาตฺยูโห
  • นกแก้ว นกแขกเต้า สุโก สุโว สุวโก กีโร
  • หงส์ หํโส
  • หงส์ขาว ภสฺสโร
  • หงส์ ห่าน กลกณฺโฑ เสตจฺฉโท ภสฺสโร
  • ห่าน วกฺกงฺโค
  • เหยี่ยว เสโน กุลฺโล ธงฺโก วฺยคฺฆีนโส
  • เหยี่ยวแดง กงฺโก โลหปิฏฺโฐ
  • เหยี่ยวนกเขา สกุณคฺมี
  • เหยี่ยวดำ กาฬเวยฺโย
  • แร้ง คิชฺโฌ คทฺโธ คนฺโธ
  • ไก่ กุกฺกุโฏ กุกฺกุฏี จรณาวุธ
  • ไก่ฟ้า กุฬีรโก กิกี
  • ไก่เถื่อน ไก่ป่า กุกฺกุฏฺโก
  • กา กาโก กากี
  • ค้างคาว ชตุกา อชินปตฺตา วคฺคุลิ

สัตว์น้ำ

  • สัตว์น้ำ โอทโก ชลโช  aquatic animals
  • กุ้ง อิญฺจาโก อายตเนตฺโต 
      shrimp prawn
  • (ปลา)หมึกยักษ์ อฏฺฐหตฺถกปาณี  octopus
  • ปลา มจฺโฉ ชลโช อมฺพุโช วาริโช วาริจโร อุทเกจโร ชลจโร มีโน
  • ปลากระเบน มณฺฑโก

สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ

(สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก)

  • กบ มณฺฑูโก ททฺทุโร เภโก  frog

แมลง ปาณกา

  • แมลง อุงฺกุโณ  insect
  • แมลงค่อมทอง แมลงเม่า แมลงทับ อินฺทโคปโก  golden hump; mayfly; jewel beetles
  • แมลงภู่ ฉปฺปโท  bumble bee
  • จิ้งหรีด จีโร-รี จีริโก-กา ฌลฺลิกา cricket
  • จั๊กจั่น จีโร-รี จีริโก-กา ฌลฺลิกา cicada
  • เรไร จีโร-รี จีริโก-กา ฌลฺลิกา  cicada
  • ด้วง หนอน กากรุโก  beetle
  • ตั๊กแตน สลโภ ปฏงฺโค  grasshopper
  • ผีเสื้อ มอธ อธิปาตโก  butterfly
  • หนอน กิมิ ปุฬโว ปาณโก  worm
  • กลุ่มหนอน กิมิกุลํ  worm group
  • มด ปิปิลฺลิกา กิปิลฺลิกา  ant
  • ปลวก อุปจิโก-กา  termite
  • จอมปลวก วมฺมิโก  termite hill
  • ยุง ริ้น มกโส สูจิมุโข  mosquito
  • เหา เล็น อูกา  louse; mite
  • หมัด อุปฺปาทโก  cootie

อวัยวะสัตว์

  • กระพองหัวช้าง กุมฺโภ
  • กีบเท้า ขุโร
  • กีบ(เท้า)ม้า ขุโร ขุรํ ตุรคขุโร อสฺสขุโร
  • กีบเท้าโค องฺคุลิ
  • กรงเล็บ นขปญฺชรํ
  • ก้างปลา หนาม กณฺฏกํ
  • ขนดงู โภโค
  • งาช้าง ทนฺโต
  • งวงช้าง โสณฺฑิ (หตฺถิ)โสณฺโฑ-ฑา-ฑํ
  • ซากงู อหิกุณโป-ปํ  อหิกุนโป-ปํ
  • ปีกนก ปกฺโข ปตฺตํ ปิญฺชํ
  • หนังสัตว์ จมฺมํ อชิโน อชินํ
  • หนังเสือ หนังเสือโคร่ง เวยฺยคฺฆํ
  • เขาสัตว์ วิสาโณ สิงฺคํ
  • หาง กลาโป (หางที่เป็นพุ่ม ไม่มีเนื้อ เช่น หางม้า) นงฺคุฏฺฐํ (หางที่มีกระดูก เช่นหางวัว-ควาย)
  • ไข่ อณฺฑํ-กํ
  • มูลสัตว์ ขี้สัตว์ ฉกณํ
  • มูลแพะ ขี้แพะ (อช)ลณฺฑิกํ-(กา)

ร่างกาย

  • ร่างกาย กาโย เทโห สรีรํ วปุ  body
  • กาย ตัว คตฺตํ   body
  • ซากศพ กุณโป-ปํ กุนโป-ปํ ฉโว  corpse
  • อวัยวะ อวยโว organ
  • หนัง ตโจ  skin
  • หนัง หนังสัตว์ จมฺมํ อชินํ   leather
  • ผิว ฉวิ  skin
  • ขน โลโม-มํ   hair
  • ศีรษะ สีสํ  มตฺถโก มุทฺธา  head
  • ผม เกโส (head) hair
  • หน้าผาก นลาโฏ-โต  forehead
  • หน้า มุขํ   face
  • คิ้ว ภมุ ภมุโก-กา  eyebrow
  • ขนตา ปขุมํ ปมฺหํ   eyelash
  • นัยน์ตา จกฺขุ อกฺขิ เนตฺตํ โลจนํ นยนํ eye
  • ตาขวา ทกฺขิณกฺขิ  ตาซ้าย วามกฺขิ
  • น้ำตา อสฺสุ(ชลํ) อสฺสุธารา เนตฺตชลํ   tear
  • หู กณฺโณ (ใบหู) โสตํ (สำหรับฟัง)  ear
  • รูหู กณฺณโสตํ  ear hole (โสตํ ช่อง, รู)
  • โคนหู กกหู กณฺณมูลํ   earmold
  • จมูก นาสา นาสิกา  nose
  • รูจมูก นาสิกโสตํ  nostril
  • โพรงจมูก นาสาปณาฬี  sinus
  • หนวด มสฺสุ   mustache
  • ปาก มุขํ   mouth
  • ริมฝีปาก โอฏฺโฐ  lip
  • ช่องปาก มุขทฺวารํ   oral cavity
  • ลิ้น ชิวฺหา  tongue
  • ฟัน ทนฺโต  tooth/teeth
  • เหงือก ทนฺตาวรณํ  gum
  • ปุ่มเหงือก มุทฺธา gum ridge
  • น้ำลาย เขโฬ  saliva
  • น้ำมูก สิงฺฆาณิกา  snot
  • เสลด เสมหะ เสมฺโห-หํ   sputum, phlegm
  • แก้ม กโปโล  cheek
  • คาง หนุ(กา) จุพุกํ   chin
  • คอ กณฺโฐ คโล คีวา  neck
  • ก้านคอ (ต้นคอ, ลำคอด้านหลัง) หลอดเสียง คลนาฬิ
  • หลุมคอ กณฺฐกูโป  pit of the neck
  • บ่า ไหล่ อํโส  shoulder
  • จะงอยบ่า อํสกูโฏ-ฏํ  shoulder blade
  • อก ถัน นม อุโร-รํ  breast
  • หัวนม จูจุกํ  nipple
  • รักแร้ กจฺฉา  armpit
  • ปอด ปปฺผาสํ  lung
  • หัวใจ หทยํ   heart
  • แขน พาหุ พาหุ-หา ภุโช   arm
  • ศอก ข้อศอก กปฺปโร  elbow
  • ท้อง คพฺโภ กุจฺฉิ กุจฺฉิ อุทรํ   belly
  • สะดือ นาภิ-ภี  navel
  • ไต1 วกฺกํ  kidney
  • ตับ ยกนํ  liver
  • พังผืด กิโลมกํ  fascia
  • ม้าม2 ปิหกํ  spleen
  • ดี ปิตฺตํ  gall
  • ลำไส้ โกฏฺโฐ  intestine
  • ไส้ใหญ่ อนฺตํ  large intestine
  • ไส้น้อย อนฺตคุณํ  small intestine
  • อาหารใหม่ อุทริยํ  (อาหารในท้อง) undigested food in the stomach
  • อาหารเก่า กรีสํ  excrement poop poo
  • อุจจาระ อุจฺจาโร สรีรวลญฺโช คูโถ-ถํ มีฬฺหํ กรีสํ  feces
  • ปัสสาวะ มูตร ปสฺสาโว มุตฺตํ  urine pee
  • เอว สะเอว ตัก องฺโก กฏิ อุจฺฉงฺโค waist
  • สะเอว มชฺโฌ วิลคฺโค มชฺฌิมํ  waist
  • ตัก อุจฺฉงฺโค lap
  • สะโพก บั้นเอว ชฆนํ นิตมฺโพ กฏิ โสณิ-ณี hips
  • องคชาต อวัยวะเพศชาย องฺคชาตํ นิมิตฺตํ penis
  • ไข่ อัณฑะ อณฺฑํ โกโส testis
  • อสุจิ น้ำกาม อสุจิ อสุจิ สมฺภโว สุกฺกํ  semen
  • อวัยวะเพศหญิง โยนิ โยนิ ภคํ vagina
  • ทวารหนัก เวจมรรค ปายุ คุทํ  anus
  • หลัง ปิฏฺฐิ  back
  • มือ หตฺโถ  hand
  • ฝ่ามือ ปาณิ  palm
  • ข้อมือ มณิพนฺโธ  wrist
  • สันมือ กรโภ  ridge of hand
  • กำมือ กำปั้น มุฏฺฐิ  fist
  • ประนมมือ อญฺชลิ-ลี อญฺชุลี  lifting of the folded hands as a token of reverence.
  • นิ้วมือ องฺคุลิ-ลี องฺคุลํ อจฺฉรา-รํ  finger
  • นิ้วหัวแม่มือ องฺคุฏฺโฐ องฺคุฏฺฐโก thumb
  • นิ้วชี้ ตชฺชนี  forefinger, index finger
  • นิ้วกลาง มชฺฌิมงฺคุลิ มชฺฌิมา middle finger
  • นิ้วนาง อนามิกา ring finger
  • นิ้วก้อย กนิฏฺฐา จูฬงฺคุลิ กนิฏฺฐงฺคุลิ little/pinky finger
  • โคนนิ้ว องฺคุลิมูลํ part of a finger nearest the palm
  • ลายนิ้วมือ องฺคุลิมุทฺทนํ finger print
  • ข้อนิ้วมือ องฺคุลิปพฺพํ knuckle
  • เล็บ นโข-ขํ  nail
  • ขา ต้นขา โคนขา ขาอ่อน อูรุ(โก) thigh, leg
  • ขาอ่อน สตฺถิ  thigh
  • เข่า ชนฺนุ(กํ-กา) ชณฺณุ(กํ-กา)  knee
  • แข้ง น่อง ชงฺฆา  calf
  • เท้า ปาโท-ทํ  ปโท-ทํ  foot
  • รอยเท้า ปทวลญฺโช  footprint footstep
  • ลักษณะแห่งรอยเท้า ปทลกฺขณํ  look of footprint
  • เสียงเท้า(เดินไป) ปทสทฺโท  footstep, walking noise
  • ข้อเท้า ตาตุ่ม โคปฺโผ โคปฺผโก-กํ
  • ส้นเท้า ปณฺหิ(กา)  heel
  • นิ้วเท้า ปาทงฺคุลิ toe
  • นิ้วหัวแม่เท้า ปาทงฺคุฏฺโฐ toe, big toe, great toe
  • เนื้อ มํสํ  flesh
  • กระดูก อฏฺฐี /อฏฺฐิ ม.  bone
  • เยื่อในกระดูก อฏฺฐิมิญฺชํ  marrow
  • เอ็น นฺหารู /นฺหารุ ม.  ligament
  • เลือด โลหิตํ   blood
  • หนอง ปุพฺโพ  pus
  • เหงื่อ เสโท  sweat
  • มันข้น เมโท  fat
  • เปลวมัน วสา  grease tallow
  • ไขข้อ ลสิกา  synovial fluid
  • ฝี กณฺฑุ  abscess
  • ลมหายใจ ปราณ; ชีวิต ปาโณ  breath; life

จิตใจ

  • จิต ใจ  จิตฺตํ เจโต มโน-นํ มานสํ วิญฺญาณํ หทยํ

ต้นไม้

  • ต้นไม้ รุกฺโข ตรุ  tree
  • ป่า วนํ อรญฺญํ  forest
  • ป่าทึบ ป่ารก ป่าชัฏ คหนํ-ณํ สณฺโฑ-ฑํ ชฏา
  • ดง อฏวิ  shrub
  • พุ่มไม้ กอไม้ คจฺโฉ  bush
    ระหว่างพุ่มไม้ คจฺฉนฺตรํ
  • ดอกไม้ ปุปฺผํ กุสุมํ  flower
  • ละอองดอกไม้ เกสร เกสโร-รํ  pollen
  • ผลไม้ ผลํ  fruit
  • เมล็ด อฏฺฐิ(กํ) สิตฺถํ สิตฺถกํ  seed
  • เมล็ดข้าว เมล็ดข้าวสุก สิตฺถํ สิตฺถกํ  rice grains
  • เมล็ด พืช หน่อ พีชํ  seed, shoots
  • เมล็ดผักกาด สาสโป  beet
  • เมล็ดตาล ตาลฏฺฐิกํ
  • เมล็ดงา ติลํ ติลกํ  sesame seeds
  • กิ่ง กิ่งไม้ สาขา  branch
  • ใบ ใบไม้ ปลาโส ปณฺณํ ปตฺตํ  leaf/leaves
  • ราก รากไม้ มูลํ ปาโท ภึสํ ภีสรํ พุนฺโท มุฬาโล-ลํ  root
  • โคนไม้ รุกฺขมูลํ  the foot of a tree
  • ไม้ ฟืน กฏฺฐํ ทารุ  firewood
  • สะเก็ดไม้ ชลฺลิ  scab
  • ยาง ชตุ  rubber
  • ต้นโพธิ์ โพธิ(รุกฺโข)  bodhi tree
  • ต้นไทร นิโคฺรโธ  banyan
  • ไทรย้อย วโฏ  weeping banyan
  • สะเดา นิมฺโพ  neem
  • ต้นมะม่วง อมฺโพ อมฺพรุกฺโข  mango tree
  • ผลมะม่วง อมฺพํ อมฺพผลํ  mango (fruit)
  • ผลมะม่วงสุก อมฺพปกฺกํ  ripe mango
  • ผลมะม่วงดิบ อาม(ก)อมฺพํ unripe/green mango
  • ต้นกล้วย กทลิ-ลี  banana tree
  • ผลกล้วย กทลิผลํ  banana (fruit)
  • ต้นขนุน ปนโส  jackfruit
  • ผลขนุน ปนสํ  jackfruit
  • ต้นพุทรา ปทโร  jujube
  • ผลพุทรา ปทรํ  jujube (fruit)
  • ไม้งิ้ว สิมฺพลี สิมฺพลี  Bombax ceiba L.
  • ต้นหว้า ชมฺพุ ชมฺพู  java plum, jambolan
  • ข้าวเปลือก วีหิ  paddy
  • ข้าวสาลี สาลิ  wheat
  • ข้าวกล้า สสฺสํ  rice seedlings
  • ไม้ไผ่ เวฬุ  bamboo
  • อ้อย อุจฺฉุ  cane
  • ต้นไม้ใหญ่เจ้าป่า วนปฺปติ (มหารุกฺโขbig tree
  • ดอกบัว ปทุโม-มํ กมลํ อุปลํ อุปฺปลํ สโรชํ ปุณฺฑรีกํ  lotus
  • ชบา ชปา  hibiscus
  • ต้นหมามุ่ย กจฺฉุ  nettles
  • น้ำเต้า ลาวุ  calabash
  • เถาวัลย์ ลตา วิรู  vine
  • หญ้า ติณํ  grass
  • มัน เผือก มูโล-ลํ มูลโก-กํ yam, taro

ธรรมชาติ

  • โลก โลโก
  • ปรโลก โลกหน้า ปรโลโก
  • ภพ ภโว ภวนํ
  • ภูมิ ภูมิ
  • สวรรค์ สคฺโค เทวโลโก
  • นรก นิรโย
  • นรกอเวจี อวิจิ อวีจิ อวิจิ อวีจิ
  • ดาว ตารา ตารกา โชติ นกฺขตฺตํ
  • ดาวหาง ดาวตก ธุมเกตุ
  • แผ่นดิน ภู(มิ) ภูริ-รี ปฐวี ปถวี ธรณี ฉมา วสุธา วสุนฺธรา
  • พระอาทิตย์ อาทิจฺโจ สุริโย ทิวากโร ทินกโร ภาณุ ภานุ
  • พระจันทร์ จนฺโท จนฺทิมา นกฺขตฺตราชา สสี
  • พื้น ตลํ
  • พื้นใต้ดิน บาดาล นาคพิภพ ปาตาลํ
  • ฝั่ง ติรํ
  • ฝั่งนี้ ฝั่งใน ภายใน โอรํ
  • ฝั่งอื่น ฝั่งนอก ฝั่งโน้น ปารํ
  • เกาะ ทวีป ทีโป
  • ภูเขา ปพฺพโต คิริ
  • ภูเขาหินล้วน เสโล
  • เขาพระสุเมรุ สิเนรุ
  • ซอกเขา กนฺทโร-รา คพฺภรํ
  • เงื้อมเขา ปพฺภาโร
  • ถ้ำ (คิริ)คุหา (คิริ)คูหา คพฺภรํ
  • ดิน ดินร่วน ปํสุ(โก)
  • ดิน ดินเหนียว มตฺติกา
  • เปือกตม โคลน กทฺทโม จิกฺขลฺลํ
  • หิน ศิลา สิลา อมฺโภ อสฺมา ปาสาโณ อุปโล
  • แผ่นหิน ปาสาโณ
  • หินลับมีด นิสโท
  • กรวด วาลุกา
  • ทราย อุรุ วาลุกา
  • ครั่ง ลาขา
  • ขี้ผึ้ง สิตฺถํ สิตฺถกํ
  • ธาตุ ธาตุ
  • ฝุ่น ผง ธุลิ-ลี ธูลิ-ลี ปํสุ(โก) จุณฺโณ-ณํ
  • กองฝุ่น ปํสุกูลํ
  • น้ำ อุทกํ ชลํ วาริ อมฺพุ อาโป
  • ธาตุน้ำ อาโปธาตุ
  • ทะเล ชลธิ สินฺธุ อณฺณโว สาคโร (มหา)สมุทฺโท
  • ห้วงน้ำ น้ำท่วม โอโฆ
  • บึง วาปี ตลาโก ตฬาโก
  • สระ สโร สรํ
  • สระที่เกิดเอง ชาตสฺสโร ชาตสฺสรํ
  • ลำธาร ธารน้ำ ปทโร ธารา กุนฺนที กุนที (แม่น้ำน้อย)
  • แม่น้ำ นที
  • แม่น้ำสินธู สินฺธู
  • แม่น้ำสรภู สรภู
  • ฝน เทโว วสฺสํ
  • ฝน เม็ดฝน วุฏฺฐิ
  • กระแส กระแสน้ำ โสตํ
  • คลื่น อูมิ วีจิ
  • สายฟ้า อสนิ อสนิ วิชฺชุ วิชฺชุลตา
  • ฟ้าผ่า อสนิปาโต
  • ไฟ ปาวโก อคฺคิ เตโช ทโห ธุมเกตุ สนฺตาโป ทหนํ ทหณํ
  • ธาตุไฟ เตโชธาตุ
  • ไฟป่า ทวฑาโห ทวทาโห
  • เปลวไฟ ชาลา สิขา อจฺจิ
  • ประกายไฟ วิปฺผุลิงฺคํ ผุลิงฺคํ
  • ควัน ควันไฟ ธุโม ธูโม
  • เขม่า มสิ
  • ลม วาโย วายุ
  • อากาศ อากาโส
  • หลุม กาสุ
  • ช่อง รู โพรง สุสิรํ ฉิทฺทํ
  • แสงสว่าง รัศมี โอภาโส อาโลโก ปทีโป ปภา อาภา นารา รํสิ รสฺมิ
  • เสียง สโร
  • เสียง ศัพท์ สทฺโท
  • เสียงก้อง โฆโส
  • (เสียง)ไพเราะ มธุร มญฺชุ มญฺชุก (คุณ.)
  • กลิ่น คนฺโธ
  • รส รโส
  • สังขาร สงฺขาโร
  • ลม วาโต
  • ลมตะวันออก ปุรตฺถิมวาโต
  • ลมตะวันตก ปจฺฉิมวาโต
  • ลมเหนือ อุตฺตรวาโต
  • ลมใต้ ทกฺขิณวาโต
  • ลมมีธุลี สรชวาโต
  • ลมไม่มีธุลี อรชวาโต
  • ลมหนาว สีตวาโต
  • ลมร้อน อุณฺหวาโต
  • ลมพัดเบาๆ ปริตฺตวาโต
  • ลมพัดแรง อธิมตฺตวาโต

 

ทิศ

  • ทิศ ทิศใหญ่ ทิสา โกโณ
  • ทิศเหนือ อุทีจิ-จี
  • ทิศอุดร ทิศเบื้องซ้าย อุตฺตโร-รา-รํ อุตฺตรทิสา
  • ทิศใต้ อปาจิ-จี อวาจี
  • ทิศเบื้องขวา ทกฺขิณทิสา
  • ทิศตะวันออก ปราจีน ปาจี ปาจีนํ อคฺคิ(นิ)โกโณ อปรา
  • ทิศเบื้องหน้า, บูรพา ปุพฺพา ปุพฺพทิสา 
  • ทิศมีในเบื้องหน้า, ปุริมทิศ ปุริมทิสา ปุรตฺถิมทิสา ปุรตฺถา
  • มีในเบื้องหน้า/มีในทิศตะวันออก ปุรตฺถิม ปาจีน(ก) ค.
  • ทิศตะวันตก ปัศจิม ปตีจิ-จี ปจฺฉา นิ.
  • ทิศมีในเบื้องหลัง ปจฺฉิมา ปจฺฉิม(า)ทิสา
  • มีในเบื้องหลัง/มีในทิศตะวันตก ปจฺฉิม ค.
  •  
  • ทิศน้อย ทิศเฉียง อนุทิสา 
    ทิศเฉียง ระหว่างทิศ มุม วิทิสา
  • ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ อีสาน อีสานํ
    ปุพฺพุตฺตรา ปุพฺพุตฺตรทิสา อุตฺตรานุทิสา
    อุตฺตรา อนุทิสา
  • ทิศตะวันออกเฉียงใต้ อาคเนย์ อาคเณยฺโย 
    ปุพฺพทกฺขิโณ-ณํ ปุพฺพทกฺขิณาทิสา  ปุรตฺถิมา อนุทิสา
    ทกฺขิณอนุทิสา ทกฺขิณานุทิสา อปรทกฺขิณา
  • ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ทิศพายัพ
    ปจฺฉิมุตฺตรา ปจฺฉิมุตฺตรทิสา ปจฺฉิมาอนุทิสา
  • ทิศตะวันตกเฉียงใต้ หรดี หรติ ทกฺขิณปจฺฉิมา ปจฺฉิมทกฺขิณา
  •  
  • ทิศเบื้องบน อุปริมา อุปริมทิสา อุตฺตรา อุคฺคโม อุคฺคมนํ
  • ทิศมีในเบื้องต่ำ ทิศเบื้องต่ำ เหฏฺฐิมา เหฏฺฐิมทิสา 
    ทิศเบื้องล่าง, ทิศเบื้องต่ำ อธรา
  •  
  • ทิศตรงข้าม ปฏิทิสา
  • ส่วนแห่งทิศ ทิสาภาโค

 

สถานที่

  • บ้าน เรือน เคหํ เคโห ฆรํ
  • ที่อยู่ นิเวสนํ วสนฏฺฐานํ เวสฺโม
  • ที่อาศัย ที่พัก เรือน อาวสโถ อชฺฌาวสโถ
  • ที่พักกลางคืน รตฺติฏฺฐานํ
  • ที่พักกลางวัน ทิวาฏฺฐานํ
  • ที่พักกลางคืนและที่พักกลางวัน รตฺติฏฺฐานทิวาฏฺฐานานิ
  • (หมู่)บ้าน คาโม คามโก (ก สกัตถะ)
  • ประชุมแห่งบ้าน คามโก
  • กุฏิ กุฎี กุฏิ กุฏิกา กุฏิกํ
  • อาศรม อาศรมบท อสฺสโม อสฺสมปทํ
  • วัด อาวาโส อาราโม วิหาโร
  • สวน อาราโม อุยฺยานํ
  • นา เขตฺตํ
  • เจดีย์ สถูป เจติยํ; เจติโย [รูป เจติโย พบ 3 แห่ง ในไตร.] ถูโป
  • ยอด ถูโป
  • ปราสาท ปาสาโท  พื้นปราสาท ปาสาทตลํ
  • อาคาร อ-อาคาโร-รํ  อาคารโก; อคฺคํ (รูปย่อของ อคารํ)
  • ศาลา โรง สาลา
  • โรงเรียน ปาฐาคาโร-รํ ปาฐสาลา สิปฺปสาลา
  • โรงพยาบาล อาโรคฺยสาลา คิลานสาลา
  • ห้อง คพฺโภ โอวรโก โอวรกํ
  • ห้องเรียน ปาฐคพฺโภ
  • ห้องนอน สยนคพฺโภ
  • ห้องน้อย โอวรโก โอวรกํ
  • ที่นอน สยนํ เสนํ เสยฺยา
  • ฟูก เบาะ ที่นอน ภิสิ
  • เตียง มญฺโจ มญฺจโก
  • ที่นั่ง อาสนะ ผ้าปูนั่ง อาสนํ นิสีทนํ
  • ตั่ง ปีฐํ ตั่งน้อย ปีฐิกา
  • เก้าอี้ โกจฺฉํ
  • ที่อยู่อาศัย ที่นอนและที่นั่ง เสนาสนํ เสยฺยาสนํ อุปสฺสยํ
  • ที่ ที่ตั้ง ฐานํ
  • โอกาส ที่ว่าง เวลาว่าง โอกาโส
  • สถานที่สบาย/สำราญ/ผาสุก
    ผาสุกฏฺฐานํ ยถาผาสุกฏฺฐานํ (ที่มีความสำราญอย่างไร)
  • โรงอุโบสถ อุโบสถ โบสถ์ อุโปสถคฺคํ อุโปสถาคาโร
  • ห้อง/โรงอาหาร หอฉัน ภตฺตคฺคํ อุปฏฺฐานสาลา อาสนสาลา
  • โรงทาน ทานคฺคํ  (อคฺค รูปย่อของ อคารํ)
  • ที่บำรุง ที่อุปัฏฐาก อุปฏฺฐานํ
  • ที่นิมนต์ นิมนฺตนฏฺฐานํ
  • ที่มาดื่มน้ำ อาปานภูมิ
  • ซุ้มประตู โกฏฺฐโก
  • โรงไฟ อคฺคิสาลา
  • ศาลาเรือนไฟ ชนฺตาฆรสาลา
  • เรือนไฟ ชนฺตาฆรํ
  • ที่บำเรอไฟ ที่บูชาไฟ อคฺคิปริจรณฏฺฐานํ
  • กัปปิยกุฎี กปฺปิยกุฏิ
  • ที่แอบที่ซ่อน(ตัว) ที่หลีกเร้น เลนํ-ณํ
  • ที่จงกรม จงฺกโม จงฺกมนํ จงฺกมฏฺฐานํ
  • โรงจงกรม จงฺกมนสาลา
  • บ่อน้ำ อุทปาโน ปปา
  • ศาลาบ่อน้ำ อุทปานสาลา
  • ศาลาที่พัก วิสฺสมนสาลา
  • สระโบกขรณี โปกฺขรณี
  • มณฑป มณฺฑโป มณฺฑปํ
  • สระ สโร สรํ
  • ห้องน้ำ ห้องส้วม วัจจกุฎี วจฺจกุฏิ
  • ป่าช้า สุสาน สุสานํ
  • ป่าช้า/สุสานฝังศพ อามกสุสานํ
  • ป่าช้า/สุสานเผาศพ อาฬาหนํ
  • ตะแลงแกง, สถานที่นำ(นักโทษ)มาฆ่า อาฆาตนํ
  • ระเบียง หน้ามุข อาลินฺโท ปมุขํ ปริยาคาโร ปริยาคารํ ปาฆณํ
  • คอก วโช
  • คอกวัว โคกุลํ คุฏฺฐํ โคฏฺฐํ
  • รัฐ แคว้น ประเทศ รฏฺฐํ วิชิตํ
  • ตำบล เมือง บ้านเมือง ประเทศถิ่น ชนปโท
  • สถานที่ ประเทศ ถิ่นที่ เทโส ปเทโส
  • ที่ต่างถิ่น วิเทโส (ประเทศอันต่าง)
  • นิคม นิคโม
  • เมือง นครํ -ธานี ปุรี ปุรํ มณฺฑิโร มณฺฑิรํ
  • เมืองใหญ่ มหานคร ราชธานี อคฺคนครํ metropolis
  • เทพนคร เมืองสวรรค์ เทวนครํ
  • เมืองอสูร อสุรปุรํ
  • ประตูเมือง ซุ้มประตูเมือง โคปุรํ
  • หมู่บ้าน คาโม village
  • ที่ทำงานในหมู่บ้าน คามกมฺมกรณฏฺฐานํ
  • ประเทศฝ่ายทิศใต้ เมืองแถบใต้ ทกฺขิณาปโถ
  • ประเทศชายแดน ปจฺจนฺต ปจฺจนฺติม ปจฺจนฺติมชนปโท
  •  
  • ถนน ทาง มคฺโค ปโถ ปนฺโถ ปชฺโช
  • ตรอก ถนน ทางเดิน วีถิ รจฺฉา รถิกา วิสิขา
  • ถนนที่นายจ้างอยู่ ภตกวีถิ  (ถนนอันเป็นที่อยู่ของนายจ้าง)
  • ถนนตัน ตรอกตัน พฺยูโห
  • ทางสามแยก สิงฺฆาฏกํ
  • คูเมือง ปริขา
  • ชิงช้า โทลา
  • สะพาน เสตุ สงฺกมนํ
  • เขตแดน สีมา มริยาทา เวลา สีมนฺโต อนฺโต ปริยนฺโต อนฺตรํ
  • รั้ว วติ(กา) ปากาโร ปริกฺเขโป
  • กำแพง ปากาโร วรโณ อุทฺทาโป อุทฺทาโม วติ ภิตฺติ อุปการิกา กุฑฺฑํ
  • ที่ใกล้ มูลํ  (ฐานํ)
  • ที่ใกล้ สำนัก สนฺติกํ (ฐานํ)

 

 

  • ในที่สูง อุจฺจํ
  • ในเบื้องบน อุทฺธํ อุปริ
  • ในเบื้องต่ำ/ล่าง นีจํ อโธ
  • ในภายใต้ ในข้างใต้ ข้างล่าง เหฏฺฐา
  • ในฝั่งใน/นี้ โอรํ
  • ในฝั่งนอก/โน้น ปารํ
  • ในภายใน อนฺโต อชฺฌตฺตํ
  • ในภายนอก ติโร พหิ พหิทฺธา พาหิรา พาหิรํ
  • ในที่ไกล อารา อารกา
  • ในโลกอื่น หุรํ
  • ในโลกหน้า เปจฺจ
  • ริม ใกล้ ทั้งสองข้าง อภิโต
  • ข้างหน้า ปุรโต ปรโต
  • ข้างหลัง ปจฺฉโต ปิฏฺฐิโต
  • ในที่ข้างหน้า เฉพาะหน้า อภิโต
  • ในที่ต่อหน้า สมฺมุขา อาวิ อาวี
  • ในที่ลับหลัง ปรมฺมุขา ปรมฺมุขํ
  • ในที่แจ้ง ที่แจ้ง อาวิ อาวี
  • ในที่ลับ รโห
  • ในระหว่าง อนฺตรา อนฺตเรน
  • ในระหว่างแห่งต้นสาละคู่ ยมกสาลานํ อนฺตเรน
  • ในระหว่างกรุงราชคฤห์กับเมืองนาลันทา
    อนฺตรา จ ราชคหํ อนฺตรา จ นาฬนฺทํ
  • ในระหว่างนครและวิหาร นครสฺส จ วิหารสฺส จ อนฺตรา
  • ในระหว่างแห่ง(หมู่)บ้าน คามนฺตเร
  • ในระหว่างแห่งบริษัท 4 จตุปริสนฺตเร
  • ในระหว่างแห่งพวกเธอ ตุมฺหากํ อนฺตเร
  • ในระหว่างแห่งมหาชน มหาชนสฺส อนฺตเร
  • ในระหว่างแห่งผ้าเหล่านั้น เตสํ วตฺถานํ อนฺตเร
  • ในระหว่างแห่งภิกษุสงฆ์เป็นอันมาก
    มหาภิกฺขุสงฺฆสฺส อนฺตเร
  • ระหว่างแห่งพระรัศมีมีวรรณะ 6 ฉพฺพณฺณรํสีนํ อนฺตเร
  • ในระหว่างแห่งโคผู้คือเหล่าพระขีณาสพ ขีณาสวอุสภานํ อนฺตเร
  • ต่อมา ถัดมา หลังจากนั้น อนนฺตรํ
  • ไม่มีระหว่าง ติดต่อกันไป ติดต่อกันเรื่อยไป ไม่มีอะไรคั่นในระหว่าง ลำดับ อนนฺตร
  • ในแนวขวาง ติริยํ
  • ณ ส่วนข้างหนึ่ง เอกมนฺตํ
  • ในที่รอบๆ ในที่ใกล้ โดยรอบ สมนฺตา สมนฺตโต สามนฺตา ปริโต
  • ในส่วนเดียว ร่วมกัน เป็นอันเดียวกัน เอกชฺฌํ
  • จนถึงพรหมโลก ยาว พฺรหฺมโลกา

อื่นๆ>

  • ในที่(เดิม)ของตน สกฏฺฐาเน ยถาฐาเน
  • ในที่ที่เราบอกไว้ มยา วุตฺตฏฺฐาเน คตคตฏฺฐาเน
  • ในฐานะอันเลิศ อคฺคฏฺฐาเน
  • ในที่ท่ามกลาง มชฺฌิมฏฺฐาเน (ในที่มีในท่ามกลาง)
  • ในท่ามกลางหมู่บ้าน คามมชฺเฌ (ในท่ามกลางแห่งหมู่บ้าน) #เคหมชฺเฌ วิหารมชฺเฌ จตุปริสมชฺเฌ*
  • ในฐานะอันไม่พึงรักษา อรกฺขิตพฺพฏฺฐาเน
  • ในที่เป็นที่อยู่ ในที่่อยู่ วสนฏฺฐาเน
  • ในที่ที่ตนนั่ง อตฺตโน นิสินฺนฏฺฐาเน
  • ในที่แห่งเท้า ปาทฏฺฐาเน
  • ในที่ดอน ถลฏฺฐาเน 
    ในที่ลุ่ม นินฺนฏฺฐาเน
  • ในที่แห่งตนบังเกิดแล้วๆ
    นิพฺพตฺตนิพฺพตฺตฏฺฐาเน
  • ในที่ควรหัวเราะ
    หสิตพฺพฏฺฐาเน หสนฺติ
  • ในที่ใกล้ อาสนฺนฏฺฐาเน
  • ในที่เดียวกัน เอกฏฺฐาเน วสนฺตา
  • ในที่ตามที่ชอบใจ ยถารุจิตฏฺฐาเน
  • ในฐานะแห่งพี่สาว เชฏฺฐธีตุฏฺฐาเน
  • ในฐานะแห่งอัครมเหสี อคฺคมเหสิฏฺฐาเน
  • #มาตุฏฺฐาเน, อาจริยฏฺฐาเน

สมาส (อัพยยีภาวะ)

  • (ภาย)ในเมือง อนฺโตนครํ, นครสฺส อนฺโต, อนฺโตปุรํ
  • (ภาย)ในปราสาท อนฺโตปาสาทํ
  • (ภาย)ในวิหาร อนฺโตวิหารํ, วิหารสฺส อนฺโต
  • (ภาย)ในอเวจี อนฺโตอวีจิ
  • (ภาย)นอกเมือง พหินครํ
  • (ภาย)นอกหมู่บ้าน พหิคามํ
  • (ภาย)นอกม่าน พหิสาณิ(ยํ)
  • (ภาย)นอกภูเขา ติโรปพฺพตํ
  • (ภาย)นอกกำแพง ติโรปาการํ
  • (ภาย)นอกฝา(เรือน) ติโรกุฑฺฑํ
  • (เบื้อง)บนปราสาท อุปริปาสาทํ
  • (เบื้อง)บนเตียง อุปริมญฺจํ
  • (ภาย)ใต้เตียง เหฏฺฐามญฺจํ
  • (ภาย)ใต้ปราสาท เหฏฺฐาปาสาทํ
  • (ภาย)ใต้ตั่ง เหฏฺฐาปีฐํ
  • ระหว่างทาง อนฺตรามคฺคํ
  • ระหว่างถนน อนฺตรวีถิ(ยํ)
  • ระหว่างบ้าน อนฺตรฆรํ
  • ใกล้เมือง อุปนครํ
  • ใกล้แม่น้ำคงคา อนุคงฺคํ อุปคงฺคํ
  • ใกล้ป่า อนุวนํ
  • ตามฝั่ง อนุตีรํ
  • หลังรถ อนุรถํ
  • ในที่ใกล้เท้า แทบเท้า ปาทมูเล

ยาน พาหนะ

  • รถ รโถ
  • รถม้า อสฺสรโถ
  • ยาน ยานํ
  • พาหนะ วาหนํ
  • ยนต์ เครื่องกลไก ยนฺตํ
  • เกวียน สกฏํ
  • เรือ นาวา โปโต

อาหาร

  • ข้าว อนฺนํ  cooked rice
  • ข้าวและน้ำ อนฺนปานํ   rice and water
  • ข้าวสุก โอทโน  cooked rice
  • ข้าวสวย ภัตร ภตฺตํ   cooked rice
  • ข้าวปายาส (ระคนด้วยน้ำนม) (ขีร)ปายาโส
  • ข้าวปายาสมีน้ำน้อย นิรุทกปายาโส  rice milk
  • ก้อนข้าวปายาส ปายาสปิณฺโฑ  a lump of rice
  • คำข้าว อาโลโป กวโฬ กวโล กพโฬ กพโล
  • แกง สูโป  soup
  • กับข้าว พฺยญฺชนํ   dishes, things eaten with rice
  • บิณฑบาต ปิณฺฑปาโต  food offering to a monk
  • ขนม ปูโว ปูโป  sweets candy
  • ขนมสด กุมฺมาโส
  • ขนมแห้ง ข้าวตู สตฺตุ
  • มื้ออาหาร อาหาโร ภตฺตํ  meal
  • อาหารเช้า ปาตราโส  breakfast
  • อาหารเที่ยง มชฺฌนฺติกาโสlunch
  • อาหารเย็น สายมาโส  dinner
  • อาหาร ของกิน ภกฺโข ภกฺขํ ภกฺขา
  • ภิกษา (อาหารได้จากการขอ) ภิกฺขา  alms (given to Buddhist monks)
  • เนื้อ มํสํ   meat
  • เนื้อหมู สูกรมํสํ   pork
  • (เนื้อ)ปลา มจฺโฉ  fish (meat)
  • เนื้อและปลา มจฺฉมํสํ  fish and meat
  • เนื้ออร่อย มธุรมํสํ   delicious meat
  • เนื้อที่เหลือ เสสมํสํ  leftover meat
  • เนื้อที่เก็บไว้ ฐปิตมํสํ   kept meat
  • เนื้อเดน  วิฆาสํ (มํสํ) วิฆาโส (อาหาโร)  remains of food, scraps
  • เนื้อเดนสิงโต  สีหวิฆาสํ
  • เนื้อเดนเสือ(โคร่ง)  พฺยคฺฆวิฆาสํ
  • เนื้อเดนเสือเหลือง  ทีปิวิฆาสํ
  • เนื้อเดนเสือดาว  ตฺรจฺฉวิฆาสํ
  • เนื้อเดนสุนัขป่า  โกกวิฆาสํ
  • เนื้อเหี้ย โคธมํสํ  water-monitor meat
  • ปลา มจฺโฉ  fresh fish
  • ปลาสด อลฺลมจฺโฉ อามมจฺโฉ  fresh fish
  • ปลาดิบ อามมจฺโฉ  raw fish
  • ปลาแห้ง สุกฺขมจฺโฉ  dried fish
  • ปลาร้า ปลาจ่อม ปูติมจฺโฉ  pickled fish
  • ปลาเค็ม โลณมจฺโฉ  salted fish
  • ปลาย่าง ปลาเผา องฺคารปกฺกมจฺโฉ  grilled fish
  • ผลไม้ ผลํ (ชมฺพุผลํ กทลิผลํ อมฺพํ/อมฺพผลํ) fruit
  • ผลไม้ต่างๆ นานาผลานิ   various fruits
  • ข้าวปลายเกรียน ปลายข้าว กาณาชกํ กาณาชิกํ   broken rice, broken-milled rice
  • ปลายข้าว มีน้ำส้ม(น้ำผักดอง)เป็นที่สอง, ปลายข้าว กับน้ำผักดอง "กาณาชกํ พิลงฺคทุติยํ" (ข้าวปลายเกรียน มีน้ำส้ม(น้ำผักดอง)เป็นที่สอง) broken rice and pickled vegetables
  • ของควรเคี้ยว ขาทนียํ ขชฺชํ ขชฺชกํ  food fit to be chewed; snack
  • ของควรบริโภค โภชนํ โภชนียํ โภชฺชํ   food fit to be eaten
  • ของควรเคี้ยวควรบริโภค ขาทนียโภชนียํ ขชฺชโภชฺชํ   food fit to be chewed or eaten

น้ำ เครื่องดื่ม

  • น้ำ (ทั่วไป) อุทกํ   water
  • น้ำดื่ม (น้ำเปล่า) ปานียํ   drinking water
  • น้ำ(เครื่อง)ดื่ม เครื่องดื่ม ปานะ ปานํ ปานกํ (soft) drink
  • น้ำมะม่วง อมฺพปานํ อมฺพปานกํ   mango juice
  • (น้ำ)กาแฟ กาผิปานํ   coffee
  • อัฏฐบาน อฏฺฐปานํ  8 types of juice
  • น้ำอ้อย น้ำตาล น้ำอ้อยงบ ผาณิตํ คุโฬ โคโฬ  cane juice, sugar
  • น้ำพุทรา มธุกปานํ   Indian-jujube juice
  • ยาคู อาหารเหลว ยาคุ  gruel
  • ยาคูแข้น โภชฺชยาคุ (ยาคูที่เข้มข้นกว่าปกติ เช่นข้าวต้ม จัดเป็นโภชนะ)
  • น้ำผึ้ง มธุ   honey
  • สุรา เหล้า น้ำเมา สุรา มชฺชํ; เมรยํ (ยังไม่ได้กลั่น) liquor alcohol whisky wine
  • หิวข้าว ฉาต
  • กระหายน้ำ หิวน้ำ ปิปาสิต

ผ้า อาภรณ์ วตฺถาภรณานิ

  • ผ้า วตฺถํ cloth
  • ผ้าอาบน้ำ อุทกสาฏิกา  cloth for bathing
  • ผ้าฝ้าย โขมํ  fiber cloth
  • ผ้าขนสัตว์ กมฺพลํ  woolen cloth
  • ผ้าไหม โกเสยฺยํ silk
  • ผ้าฝ้ายแบบหนามักมีสีขาวไม่มีลาย กปฺปาสิกํ  calico
  • ผ้าห่ม (ขนสัตว์ กันหนาว) กมฺพลํ  blanket
  • ผ้าใหม่ อหตํ  (ผ้าอันอะไรๆ ไม่ขจัดแล้ว)
  • ชายผ้า ทสา ทุสฺสนฺโต hem (of a garment)
  • เครื่องนุ่งห่ม สาฏกํ garment
  • สบง อันตรวาสก อนฺตรวาสโก inner garment
  • ผ้านุ่ง นิวาสนํ lower garment
  • จีวร อุตฺตราสงฺโค ผ้าห่ม ปารุปนํ
    (สำหรับห่มด้านบนลงมา) upper garment
  • เสื้อ เสื้อคลุม สาฏิกา
  • รัดเอว กฏิพนฺธนํ  girdle
  • รัดสะโพก เมขลา  girdle of a woman
  • สร้อย/กำไล/มือ/เท้า กำไล วลยํ  bangle
  • กำไลมือ เกยูรํ   bangle for arm วลยํ กฏกํ  bracelet
  • กำไลเท้า นูปุโร  bangle for feet
  • รัดประคด เข็มขัด กายพนฺธนํ   belt
  • ดอกไม้บนศีรษะ เทริด มงกุฎดอกไม้ เสขโร chaplet
  • เครื่องประดับ ปสาธนํ  decorations jewelry
  • เครื่องประดับคอ คีเวยฺยํ  collar
  • จูฬามณิ  crest-gem
  • มงกุฏ กิรีฏํ  crown
  • diadem อุณฺหีสํ มงกุฎ รัดเกล้า พระราชอำนาจ พระฐานันดรศักดิ์
  • ต่างหู กุณฺฑลํ  ear-ring
  • garland มาลา
  • ผ้าเช็ดหน้า หตฺถปุญฺฉนํ handkerchief
  • หมวก สีสาวรณํ นาฬิปตฺโต hat
  • jacket กญฺจุโก overcoat ทีฆกญฺจุโก
  • สร้อยคอ หาโร คีวาภรณํ necklace
  • ointment fragrant วิเลปนํ
  • น้ำหอม ของหอม สุคนฺโธ perfume
  • การอบ(กลิ่น) วาสนํ perfuming
  • เข็ม สลากา pin
  • rag นนฺตกํ
  • แหวน องฺคุลิมุทฺทา ring แหวนตรา มุทฺทิกา signet ring
  • รองเท้า ปาทุ ปาทุกา shoe รองเท้าแตะ? อุปาหนํ sandals
  • scent คนฺธสาโร
  • smoking pipe ธูมเนตฺตํ
  • สบู่ นหานียํ soap
  • สร้อยไข่มุก มุตฺตาวลิ string of pearls
  • ผงอาบน้ำ? วาสจุณฺณํ toilet powder
  • toilet box วาสกรณฺโฑ
  • ผ้าเช็ดหน้า? มุขปุญฺชนํ towel
  • ผ้าโพกหัว สีสเวฐนํ turban
  • ร่ม ฉตฺตํ umbrella
  • veil มุขาวรณํ
  • ไม้เท้า(คนแก่) กตฺตรยฏฺฐิ walking stick
  • นาฬิกา โหราโลจนํ watch

บ้าน ส่วนประกอบ อุปกรณ์

  • ยุ้ง ฉาง โกฏฺฐํ barn
  • ซุ้ม/ห้องอาบน้ำ นหานโกฏฺฐโก bathing closet
  • คาน ตุลา beam
  • ห้องนอน สยนิฆรํ bedroom
  • แผ่นกระดาน ผลโก board
  • ลิ่ม กลอน อคฺคลํ bolt
  • อิฐ จยนิฏฺฐกา brick
  • ซีเมนต์ กาฬจุณฺณํ cement
  • compound องฺคณํ
  • ห้องอาหาร โภชนสาลา dining-room
  • ประตู ทฺวารํ door
  • ประตูเรือน ประตูบ้าน เคหทฺวารํ
  • กรอบประตู ทฺวารพาหา door-frame
  • drawing-room ปฏิกฺกมนํ
  • eaves นิมฺพํ
  • โรงรถ รถสาลา garage
  • ซุ้มประตู ประตูใหญ่? ทฺวารโกฏฺฐโก gate
  • กุสูโล granary
  • โรง, ห้องโถง สาลา hall
  • เตา เตาไฟ อุทฺธนํ hearth
  • บานพับ ทฺวาราวฏฺฏโก hinge
  • ห้องชั้นใน โอวรโก inner room
  • กุญแจ กุญฺจิกา ตาโฬ key
  • รูกุญแจ กุญฺจิกาวิวรํ keyhole
  • ห้องน้ำ วจฺจกุฏิ lavatory
  • ปูนขาว เสตจุณฺณํ lime
  • จยนาเลโป mortar (ครก; ส่วนผสมของปูนขาวหรือซีเมนต์กับทรายและน้ำ; โบกปูน)
  • เสา ถมฺโภ pillar
  • เรือนยอด อาคารที่มีหลังคาเป็นยอดแหลม กูฏาคาโร กูฏาคารํ pinnacle
  • ไม้กลอนหลังคา ไม้จันทัน โคปานสิ rafter
  • หลังคา ฉทนํ roof
  • ห้อง คพฺโภ room
  • โรงม้า อสฺสสาลา stable
  • บันได โสปาโณ โสปาโน stair
  • โรงเก็บของ อุทฺโทสิโต store
  • terrace เวทิกา
  • verandah อาลินฺโท
  • ธรณีประตู อุมฺมาโร threshold
  • ท่อนไม้ กฏฺฐํ ทารุ timber
  • top-plate ปกฺขปาโส
  • พื้นชั้นบน? ปาสาทตลํ upper floor
  • ฝา ภิตฺติ wall
  • wall-plate สงฺฆาโฏ
  • หน้าต่าง วาตปานํ window
  • บานหน้าต่าง กวาฏํ window shutter
  • หน้าต่างที่มีมุข window with a balcony สีหปญฺชโร
  • อาคารผู้หญิง อิตฺถาคารํ โอโรโธ women's apartments

สิ่งของ

  • ทรัพย์ สมบัติ ธนํ โภโค สมฺปตฺติ วิภโว สาปเตยฺยํ กฏุมฺพํ กุฏุมฺพํ ทพฺพํ
  • สิ่งของ ภณฺฑํ ภณฺฑกํ
  • สิ่งของของตน สนฺตกํ (อันเป็นของมีอยู่(ของตน))
  • เงิน หิรญฺญํ
  • เงินตรา รูปิยํ กหาปณํ
  •  

สิ่งของภายในบ้าน เคหภณฺฑานิ

  • เถ้า ฉาริกา ash
  • ตะกร้า ปิฏกํ basket
  • ถุง ปสิพฺพโก bag
  • เตียง มญฺโจ มญฺจโก  bed
  • ผ้าคลุมเตียง มญฺจตฺถรณํ bedsheet
  • เศษผ้า ผ้าขี้ริ้ว ผ้าเก่า ปิโลติกา ปิโลติกาขณฺฑํ  rag, dust cloth
  • ม้านั่ง นิสีทนผลโก bench
  • หีบหมาก กล่องหมาก ตมฺพูลเปฬา betel server
  • ขวด นาฬิกา นาฬิกา
  • หีบ กล่อง มญฺชูสา ฆรํ box
  • ไม้กวาด สมฺมชฺชนี broom
  • แปรง วาลณฺฑูปโก brush
  • พรม โกชโว  carpet rug
  • เก้าอี้ ปีฐํ chair
  • ถ่าน องฺคาโร  charcoal
  • corn-measure นาฬิ
  • บัลลังก์ ปลฺลงฺโก  couch
  • ถ้วย จสโก cup
  • โต๊ะเขียนหนังสือ เลขนผลกํ  desk, writing table
  • จาน ถาลิ dish
  • เก้าอี้นั่งเล่น อาสนฺทิ easy chair
  • ไฟ อคฺคิ fire
  • วัตถุที่กำลังติดไฟ อลาตํ firebrand
  • fire-place อุทฺธนํ
  • ไม้ฟืน ทารุ อินฺธนํ firewood
  • เครื่องเรือนไม้ ทารุภณฺฑํ furniture
  • ขวดแก้ว กาจตุมฺโพ glass-bottle
  • เครื่องแก้ว กาจภณฺฑํ glassware
  • กระเป๋าถือ ปจฺฉิ hand-basket
  • กระเป๋าถือ ปสิพฺพโก purse
  • ตุ่ม อรญฺชโร jar (big)
  • เหยือก กุณฺฑิกา jug
  • มีด สตฺถํ ฉุริกา knife
  • ทัพพี ทพฺพิ ladle
  • โคมไฟ ปทีโป lamp
  • ไส้ตะเกียง ทีปวฏฺฏิ lamp wick
  • ถุงหนัง ภสฺตา ภสฺตฺรา leathern bag
  • ฝา ปิธานํ lid
  • ฝาหม้อ สราโว lid for a pot
  • เสื่อ กิลญฺโช  mat
  • กระจกเงา อาทาโส  mirror
  • mortar อุทุกฺขโล
  • มุ้ง มกสาวรณํ mosquito net
  • เข็ม สูจิ needle
  • สาก มุสโล pestle
  • หมอน พิมฺโพหนํ pillow ปลอกหมอน จิมิลิกา pillow case
  • จาน (กินข้าว) กํโส plate (to eat from)
  • หม้อ จาฏิ  pot
  • ที่รองหม้อ จุมฺพฏกํ  potstand
  • เก้าอี้หวาย ภทฺทปีฐํ  rattan chair
  • เชือก รชฺชุ  rope
  • ตาชั่ง ตุลา  scales
  • กรรไกร กตฺตริกา  scissors
  • ที่นั่ง อาสนํ   seat
  • จักรเย็บผ้า สิพฺพนยนฺตํ 
    sewing machine
  • ตะแกรง ปิฏฺฐจาลิกา  sieve
  • กระโถนบ้วนน้ำลาย เขลมลฺลโก  spittoon
  • ช้อน ทัพพี กฏจฺฉุ  spoon ladle
  • หินบด, หินลับมีด นิสโท  whetstone, grinding stone 
    ลูกหินบด นิสทโปโต-ตโก
  • โต๊ะกินข้าว โภชนผลกํ  dining table
  • สายหนัง วรตฺตา thong
  • ด้าย สุตฺตํ ตนฺตุ thread
  • ถาดสัมฤทธิ์ (สำริด) กํสาธาโร  bronze tray
  • ถาด ปาติ  tray ถาดทองคำ สุวณฺณปาติ  golden tray
  • ภาชนะ ภาชนํ vessel
  • ภาชนะดิน อามตฺติกํ clay vessel
  • ภาชนะสัมฤทธิ์ (สำริด) กํสภาชนํ  bronze vessel
  • หม้อน้ำ ฆโฏ water-pot
  • กระด้ง สุปฺโป winnowing basket

สิ่งก่อสร้าง บริขาร สิ่งต่างๆ ในวัด

  • สิ่งก่อสร้าง บริขาร สิ่งต่างๆ ในวัด สมณปริกฺขารานิ
  • หอฉัน ทานศาลา ทานสาลา alms hall
  • แท่นบูชา ที่บูชา ปูชาสนํ altar shrine
  • ธรรมาสน์ ธมฺมาสนํ pulpit
  • หอระฆัง ฆณฺฏาตฺถมฺโภ belfry
  • ระฆัง ฆณฺฏา bell
  • ต้นโพธิ์ โพธิรุกฺโข bo-tree
  • บาตร ปตฺโต bowl
  • ที่กรองน้ำ ปริสฺสาวนํ water-strainer
  • จีวร จีวรํ กาสาวํ yellow robe
  • ภิกษุ ภิกฺขุ buddhist monk
  • ธรรมทูต ธมฺมทูโต missionary
  • สามเณร สามเณโร novice
  • devotee ภตฺติมา
  • chapter house สีมาฆรํ
  • devotion สทฺธา
  • doctrine ธมฺโม
  • elderly monk เถโร
  • enlightened one พุทฺโธ
  • ไม่มีศรัทธา อสฺสทฺธ (คุณ.) faithless
  • พระพุทธปฏิมา ปฏิมา image
  • เรือนพระพุทธปฏิมา ปฏิมาฆรํ image house
  • ห้องสมุด โปตฺถกาลโย library
  •  
  • วัด วิหาโร อาราโม monastery
  • โรงธรรม ธรรมศาลา ธมฺมสาลา preaching hall
  • ธรรมสภา ธมฺมสภา
  • เจดีย์ เจติยํ pagoda
  • ลานโพธิ์ โพธิองฺคณํ platform around a bo-tree
  • ลานเจดีย์ เจติยงฺคณํ platform around a pagoda
  • กระท่อม ปณฺณสาลา monks’ quarters
  •  
  • นักเทศก์ เทสโก preacher
  • การแสดงธรรม เทสนา preaching
  • หนังสือธรรมะ ธมฺมโปตฺถโก-กํ  dhamma book
  • ตลับ ผอบ บรรจุพระธาตุ ธาตุกรณฺโฑ-ฑํ  relic casket

สิ่งต่างๆ เกี่ยวกับห้องเรียน

  • โรงเรียน อาคารเรียน ปาฐาคาโร-รํ ปาฐสาลา สิปฺปสาลา  school / school building
  • ห้อง คพฺโภ room
  • ห้องเรียน ปาฐคพฺโภ classroom
  • (กระดาน)ไวท์บอร์ด เสตผลกํ whiteboard
  • ประตู ทฺวารํ  door
  • หน้าต่าง วาตปานํ  window
  • ย่าม กระเป๋า ปสิพฺพโก ถวิกา bag
  • หนังสือ ปณฺณํ book 
  • สมุด(จด) เลขนปณฺณํ notebook
  • ปากกา เลขนี pen
  • โต๊ะเขียนหนังสือ เลขนผลกํ  desk, writing table
  • ที่นั่ง อาสนํ seat
  • เก้าอี้ ปีฐํ chair
  • ไม้กวาด สมฺมชฺชนี broom
  • ถังขยะ ตะกร้าขยะ กจวรปิฏกํ  bin
  • ขยะ กจวโร trash
  • นาฬิกา นาฬิกา clock

รัตนชาติ แร่ธาตุ

  • รัตนชาติ แร่ธาตุ รตนขณิชานิ   gems and minerals
  • แก้ว รตนํ jewels, precious stones, gems, gemstone
  • มณี แก้วมณี มณิ jewels, precious stones, gems, gemstone
  • แก้วผลึก (แก้วหินสีขาวสลัว) ผลิโก milky quartz, crystal glass
  • เพชร วชิรํ diamond
  • เพชรตาแมว เวฬุริยํ cat’s-eye
  • แก้วประพาฬ ปวาลํ coral
  • ทับทิม โลหิตงฺโก ruby
  • นิล มรกต อินฺทนีโล sapphire
  • มรกต มรกตํ emerald
  • บุษราคัม ผุสฺสราโค topaz
  • lapis lazuli นีลมณิ
  • มุก มุตฺตา pearl
  • ทอง ทองคำ สุวณฺณํ จารุ ชาตรูปํ กาญฺจนํ กนกํ gold
  • เงิน สชฺฌุ รชตํ silver
  • ทองแดง ตมฺพํ ตามฺพํ copper
  • ดีบุก ติปุ tin
  • ตะกั่ว ติปุ lead
  • ทองเหลือง รีรี อารกูโฏ brass
  • สำริด กํโส bronze
  • เหล็ก อโย กาลายสํ iron
  • ตะกั่วดำ, กราไฟต์ อพฺภกํ plumbago, graphite
  • ปรอท ปารโท quicksilver

โลกธาตุ จักรวาล

  • โลกธาตุ จักรวาล โลกธาตุ จกฺกวาโล-ลํ จกฺกวาโฬ-ฬํ
  • โลก โลโก  world earth
  • เมฆ วลาหโก เมโฆ  cloud
  • เมฆฝน วลาหโก  nimbus, rain cloud
  • เย็น หนาว สีตํ  cold
  • ความร้อน อุณหํ  heat
  • พระจันทร์ จนฺโท  moon
  • ดาวเคราะห์ คหตารา  planet
  • ดาวหาง ธูมเกตุ  comet
  • กลุ่มดาว นกฺขตฺตํ   constellation
  • อุกกาบาต อุกฺกาปาโต  meteor
  • การขึ้นของพระอาทิตย์ สุริโยทโย  rising of the sun
  • การขึ้นของพระจันทร์ จนฺโททโย  rising of the moon
  • จันทคราส จนฺทคฺคาโห  eclipse of the moon
  • สุริยคราส สุริยคฺคาโห  eclipse of the sun
  • ไฟ อคฺคิ  fire
  • สวรรค์ เทวโลก เทวโลโก สคฺโค  heaven
  • นรก นิรโย  hell
  • น้ำ ชลํ อุทกํ  water
  • ลูกเห็บ กรกา  hail
  • ฝนลูกเห็บ กรกวสฺสํ  hail-storm, sleet
  • น้ำค้าง อุสฺสาโว ตุหินํ  dew
  • หิมะ น้ำแข็ง หิมํ  ice
  • หิมะ ตุหินํ   snow
  • พายุหิมะ หิมปาโต  snow storm, blizzard
  • ลม วาโต วายุ  wind
  • แสงสว่าง อาโลโก  light
  • แสงจันทร์ จนฺทิกา (อาภา)  moonbeams
  • ความมืด อนฺธกาโร  darkness
  • ฝน เทโว วสฺโส วสฺสํ  rain
  • รุ้ง อินฺทธนุ  rainbow
  • การหมุนรอบ ปริพฺภมณํ  rotation
  • ท้องฟ้า อากาโส นภํ  sky
  • สายฟ้า วิชฺชุ  lightning
  • ฟ้าร้อง ถนิตํ  thunder
  • สายฟ้า อสนิ  thunder bolt
  • ราศีจักร ราสิจกฺกํ  zodiac

โลก แผ่นดิน

  • โลก แผ่นดิน ปฐวี ปถวี  the earth
  • antarctic zone วินตโก
  • arctic zone กรวีโก
  • ถ้ำ คุหา  cave
  • ทวีป มหาทีโป  continent
  • ประเทศ รฏฺฐํ  country
  • ที่กันดาร กนฺตาโร  desert
  • ฝุ่น ธูลิ  dust
  • อาณาจักร อธิรชฺชํ  empire
  • นา เขตฺตํ  field
  • ป่า วนํ อรญฺญํ  forest
  • ป่ามะม่วง อัมพวัน อมฺพวนํ  mango-grove
  • สวน อาราโม อุยฺยานํ  garden
  • กรวด สกฺขรา  gravel
  • แผ่นดิน พื้นดิน พื้น ภูมิ ฉมา ground ถาลํ  land
  • เกาะ ทีโป  island
  • kingdom รชฺชํ
  • market town นิคโม
  • เหมือง อากโร  mine
  • ภูเขา ปพฺพโต  mountain
  • ยอดเขา คิริสิขรํ   mountain peak
  • โคลน ตม ปงฺโก กลลํ  mud
  • ขั้วโลกเหนือ สุทสฺสโน  north pole
  • อีสธโร  north temperate zone
  • ทาง มคฺโค  path
  • เหว ปปาโต ตโฏ  abyss chasm gorge
  • หน้าผา ปปาโต ปปาตตโฏ ปพฺพตสิขโร  precipice
  • จังหวัด ปเทโส province อำเภออุปปเทโส sub province
  • rugged land ชงฺคโล
  • ที่ดอน ถลฏฺฐานํ, ถลํ (ฐานํ) 
    ที่ลุ่ม นินฺนฏฺฐานํ, นินฺนํ (ฐานํ)
  • หิน เสโล  rock
  • ทราย สิกตา วาลิกา  sand
  • ที่ตั้งบ้านเรือน ฆรวตฺถุ  site for a building
  • ดิน มตฺติกา  soil
  • ขั้วโลกใต้ อสฺสกณฺโณ south pole
  • south temperate zone เนมินฺธโร
  • หิน สิลา ปาสาโณ stone
  • หนอง อนุโป swamp
  • table-land สานุ
  • หุบเขา อุปจฺจกา valley

ที่เก็บน้ำ และทางน้ำ

  • ที่เก็บน้ำ และทางน้ำ ชลาสยา ชลมคฺคา  water deposits and water-ways
  • ฝั่ง shore เวลา
  • ฝั่ง กูลํ ตีรํ bank
  • ฝั่งนอก ฝั่งไกล ปารํ further bank
  • ฝั่งใน ฝั่งใกล้ โอรํ near bank
  • ท่าเรือ ติตฺถํ ferry
  • ท่าอาบน้ำ นหานติตฺถํ bathing place
  • เรือ นาวา ship
  • เรือ โทณิ นาวา boat
  • เรือเล็ก โปโต ship’s boat
  • เรือใบ ลการนาวา yacht
  • เรือดำน้ำ อนฺโตทกนาวา submarine
  • เรือรบ ยุทฺธนาวา man-of-war
  • เรือพ่อค้า วาณิชนาวา merchant vessel
  • แพ อุฬุมฺโป raft
  • canal ชลมาติกา
  • canoe ขุทฺทกโทณิ
  • cascade นิชฺฌโร
  • กัปตันเรือ นิยามโก captain of a ship
  • คนเดินเรือ กะลาสี นาวิโก sailor
  • ช่างประจำเรือ ยนฺติโก engineer of a ship
  • ปลา มีโน fish
  • เบ็ด พลิสํ fishhook
  • หอยสังข์ สงฺโข conch
  • หอยโข่ง หอยนางรม สิปฺปิกา oyster
  • สาหร่าย เสวาโล vallisneria
  • ลมเวรัมภะ เวรมฺภวาโต cyclone
  • favorable wind อนุกูลวาโต
  • opposite wind วิรุทฺธวาโต
  • การเดินสมุทร สมุทฺทคมนํ voyage
  • drain ปริขา
  • ไซ ลอบ กุมินํ fish trap
  • อวน ตาข่าย ชาลํ net
  • เสาเรือ กูปโก mast
  • ไม้พาย อริตฺตํ oar
  • หางเสือเรือ โคฏวิโส rudder
  • ใบเรือ ลกาโร sail
  • pilot กณฺณธาโร
  • น้ำเค็ม ขาโรทกํ salt water
  • ถังเก็บน้ำ หนองน้ำ วาปี ชลาสโย tank
  • บ่อน้ำ กูโป well
  • บ่อหิน โสณฺฑิ rocky pool
  • น้ำพุ ชลปสโว spring
  • สระบัว อมฺพุชินี lotus pond
  • สระบัว โปกฺขรณี pond
  • สระน้ำ บ่อ โสพฺโภ pool
  • น้ำท่วม โอโฆ flood
  • น้ำท่วมใหญ่ มโหโฆ great flood
  • ทะเลสาบ โลณี lagoon หนองน้ำ; อ่างเกลือ
  • ทะเลสาบ lake สโร ตฬาโก small lake ปลฺลาลํ
  • สมุทร มหาสมุทร สมุทฺโท สาคโร ocean
  • แม่น้ำ นที river
  • ปากแม่น้ำ นทีมุขํ mouth of a river
  • สายน้ำ ชลธารา torrent
  • ทางระบายน้ำ ชลนิคฺคโม sluice
  • ลำธาร แม่น้ำน้อย กุนฺนที stream
  • น้ำวน อาวฏฺโฏ whirl pool
  • น้ำตก นิชฺฌโร water-fall
  • คลื่น อูมิ ตรงฺโค wave
  • คลื่น คลื่นใหญ่ กลฺโลโล billow
  • หยดน้ำ เถโว water drop
  • ฟองน้ำ พุพฺพุลํ พุพฺพุลกํ bubble
  • ฟองน้ำ เผณํ foam

การปกครอง

  • การปกครอง (รชฺช)ปาลนํ   government
  • อธิราชา  emperor
  • อธิราชินี  empress
  • นรปติ  king
  • ราชินี  queen
  • ราชทูโต  envoy
  • อุปราช อุปราชา  viceroy
  • ยุพราช ยุวราชา  crown prince
  • เสนาบดี เสนาปติ  general
  • พลม้า อสฺสเสนา  cavalry
  • มนตรี มนฺตี  councilor
  • สจิโว  privy councilor
  • มหาอมาตย์ มหามจฺโจ  prime minister
  • อกฺขทสฺสามจฺโจ  lord chancellor
  • ทิสาปติ  government agent of a province
  • มณฺฑลิสฺสโร  governor of a province
  • มหาเลขกามจฺโจ  secretary of state
  • อัครเสนาบดี อคฺคเสนาปติ  head of the army
  • การาคารปติ  head of the prisons
  • กมฺมิกามจฺโจ  head of the public work
  • วีรบุรุษ นักรบใหญ่ วีโร มหาโยโธ  hero
  • ชนปทโภชโก  sheriff
  • นักรบ ยุทฺธภโฏ  soldier
  • จารบุรุษ สายลับ จารปุริโส  spy
  • บัลลังก์ สีหาสนํ  throne
  • เสนา กองทัพ กองทหาร อณีโก อณีกํ   battalion
  • กองทัพ ยุทฺธเสนา  army
  • พลช้าง หตฺถิเสนา  army consisting of elephants
  • ทัพพันธมิตร มิตฺตเสนา  ally
  • ทัพข้าศึก สตฺตุเสนา  hostile army
  •   array of troops เสนาวฺยูโห
  •   armored สนฺนทฺธ
  • อาวุธยุทธภัณฑ์ ยุทฺโธปกรณานิ   ammunition
  • เกราะ เสื้อเกราะ กวโจ สนฺนาโห  armor
  • คันธนู ธนุ  bow
  • ลูกศร สโร กณฺโฑ  arrow
  • สายธนู ชิยา  string of a bow
  • ผู้ยิงธนู ธนุทฺธาโร  archer
  • ขวานรบ กุฐารี  battle axe
  • ดาบ ขคฺโค อสิ  sword
  • นักดาบ ขคฺคธโร  swordsman
  • อาวุธ อาวุธํ อายุธํ  weapon
  • หอก เหติ  spear
  • --ปืนใหญ่ นาฬิยนฺตเสนา  artillery
  • ธง ธงแผ่นผ้า ปตากา  banner
  • การรบ ยุทฺธํ battle
  • สนามรบ ยุทฺธภูมิ  battle field
  •   fighting ยุชฺฌนํ
  •   bayonet มหาฉูริกา
  •   body-guard อณีกฏฺโฐ
  •   camp ขนฺธาวาโร
  •   cannon มหาอคฺคินาฬี
  •   chamberlain สิริสยนปาลโก
  •   constable ราชภโฏ
  •   consul ราชานุยุตฺโต
  •   dagger ฉูริกา
  •   victory ชโย
  •   defeat ปราชโย
  • เครื่องราชกกุธภัณฑ์ ราชกกุธภณฺฑานิ  emblems of royalty
  •   infantry ปทาติ
  •   killing หนนํ
  •   kingdom รชฺชํ วิชิตํ
  •   king’s command ราชาณา
  • —  sword-bearer อสิคฺคาหโก
  • minister อมจฺโจ minister of education อชฺฌาปนามจฺโจ minister of health โสขยามจฺโจ
  • navy นาวิกเสนา
  • parasol เสตจฺฉตฺตํ
  • peace สามํ
  • punishment ทณฺโฑ; การณา
  •   handle of a sword ถารุ
  •   quiver สรกลาโป
  •   rebel ทามริโก
  •   retreat ปจฺโจสกฺกนํ
  •   revenue กโร; พาลิ
  •   rifle อคฺคินาฬี
  •   royal ราชกิย
  • พระราชลัญจกร ราชมุทฺทา  royal seal
  • ฝักดาบ โกสี  sheath
  • การแทง ยิง วิชฺฌนํ  shooting
  • การยึด อวโรธนํ  siege
  • ความรุนแรง พลกฺกโร หโฐ  violence
  • การรบ สงคราม ยุทฺธํ สงฺคาโม  war
  • เสียงกู่ร้องในทำสงคราม ยุทฺธโฆโส  war cry
  • รถสงคราม ยุทฺธรโถ  war chariot
  • ความแตกแยก เภโท  disunion

พาหนะต่างๆ

  • พาหนะต่างๆ วาหนานิ   vehicles
  • เครื่องบิน วฺโยมยานํ  airplane
  •   axle อกฺโข
  •   bridle มุขาธานํ
  • รถ รโถ  carriage
  • เกวียน สกโฏ  cart
  • รถม้า อสฺสรโถ  chariot
  • ตัว?รถม้า รถปญฺชโร  chariot body
  • อาน?รถม้า รถตฺถโร  chariot rug
  • แอก?รถม้า ธุโร  chariot pole
  • คนขับรถม้า สารถี  charioteer
  • คนขับ  driver ปาชิตา
  • คนขี่ช้าง ควาญช้าง หตฺถาโรโห  driver of an elephant
  • อานช้าง หตฺถตฺถโร  elephant rug
  • ขอสับช้าง องฺกุโส  hook to quieten elephant
  • เอาขอสับช้าง ตุตฺตํ   pike to guide an elephant
  • เครื่องประดับช้าง หตฺถิกปฺปโน  trappings for an elephant
  •   วรูโถ fender of a carriage
  •   ชวโน fleet horse
  • ม้าอาชาไนย อาชานีโย  horse of good breed
  • ม้าสินธพ สินฺธโว  horse born in sindh
  • อานม้า อสฺสตฺถโร  horse rug
  • เครื่องประดับม้า อสฺสกปฺปโน horse trappings
  • กีบม้า ขุราวรณํ  horse shoe
  • ม้าไม่ได้ฝึก ม้าป่า? ขลุงฺโก  untrained horse
  • ม้าฝึกดี วินีตสฺโส  well-trained horse
  •   linch pin อกฺขคฺคกีโล
  •   litter สิวิกา
  • รถยนต์  motor car สยํวฏฺฏโก
  • จักรยานยนต์  motor cycle วิชฺชุจกฺกยุคํ
  • ม้าป่า อัศดร อสฺสตโร  mule
  •   nave (of a wheel) นาภิ
  • เชือกสนตะพาย กุสา  nose rope เชือกที่รัดจมูกม้ากับบังเหียน
  •   palanquin โทลา
  •   push-cycle จกฺกยุคํ
  •   railway train ธูมรโถ
  •   reins รถรสฺมิ
  •   rickshaw หตฺถวฏฺฏโก
  •   rim (of a wheel) เนมิ
  •   saddle อสฺสกจฺฉา
  •   state carriage ผุสฺสรโถ
  •   tram car วิชฺชุรโถ
  •   wheel จกฺกํ
  •   whip กสา
  •   yoke ยุคํ

เครื่องเขียน การพิมพ์

  • เครื่องเขียน การพิมพ์ ลิปิภณฺฑานิ มุทฺทาปนํ  stationery and printing
  • ไวท์บอร์ด เสตผลกํ
  • กระดานดำ กาฬผลกํ
  • หนังสือ โปตฺถโก โปตฺถกํ ปณฺณํ
  • การรวบรวม(เรียบเรียง) สงฺคณฺหนํ สงฺกลนํ
  • การแต่ง ประพันธ์ วณฺณโยชนา
  • ผู้แต่ง ประพันธ์ วณฺณโยชโก
  • โต๊ะเขียนหนังสือ เลขนผลกํ desk
  • การแก้ไขตำรา คนฺถโสธนา editing
  • ซองจดหมาย สาสนาวรณํ envelope
  • ปากกาหมึกซึม นาฬเลขนี
  • หมึก(เขียนหนังสือ) เลขนกสโฏ
  • --แท่นหมึก กชฺชลาธาโร
  • จดหมาย ปณฺณํ เลขนํ; สาสนํ
  • ตัวหนังสือ อักษร อกฺขรํ
  • เส้น ปนฺติ เรขา
  • เส้นตรง อุชุเรขา
  • ประพันธ์โคลงกลอน ปชฺชพนฺโธ
  • หนังสือพิมพ์ ปวตฺติปตฺตํ
  • กระดาษบันทึกข้อความ สาสนปตฺตํ
  • ใบตาล ตาลปณฺณํ
  • หน้า ปิฏฺฐํ
  • กระดาษ กากจปณฺณํ
  • ปากกา เลขนี
  • ปลายปากกา เลขนีมุขํ
  • ที่เสียบปากกา เลขนีธาโร
  • ดินสอ อพฺภกเลขนี
  • ไม้บรรทัด อุชุเรขโก
  • periodical กาลิกสงฺคโห
  • โคลงกลอน กพฺพํ ปชฺชํ
  • ผู้พิมพ์ มุทฺทาปโก
  • การพิมพ์ มุทฺทาปนํ
  • เครื่องพิมพ์ มุทฺทายนฺตํ
  • ใบแก้คำผิด โสธฺยาปณฺณํ  corrigenda
  • ผู้แก้คำผิด ผู้ตรวจปรูฟ วณฺณโสธโก  proofreader
  • การเขียน ลิขนํ ลิปิ  writing
  • ผู้เขียน เสมียน เลขโก    clerk
  • ตราประทับ มุทฺทา
  • ครั่ง ชตุ
  • ลายเซ็น หตฺถลญฺฉนํ  signature
  • กระดานชนวน สิลาปตฺถโร tablet
  • ดินสอชนวน สิลาเลขนี

เครื่องมือ อายุโธปกรณานิ

  • เครื่องมือ อุปกรณ์ อายุโธปกรณานิ  tools and implements
  • ของมีคม มีด ฯลฯ วาสิ
  • ทั่ง (ตีเหล็ก) อธิกรณี
  • เหล็กปลายแหลม เหล็กหมาด, เหล็กเจาะ, เหล็กแหลม, สว่าน, เข็ม. อารา  awl
  • ขวาน ผรสุ
  • --ภาชนวิกัติสำหรับคนนมให้เป็น เนย คคฺครี  bellows เครื่องสูบลม
  • การเจาะ วินิวิชฺฌนํ
  • การทำลาย ภินฺทนํ
  • carpenter’s line กาฬสุตฺตํ
  • สิ่ว นิขาทนํ  chisel
  • เขียง ตจฺฉนํ  chopping
  • ชะแลง ขณิตฺตี crow-bar
  • เบ้าหลอม มูสา crucible
  • การตัด ฉินฺทนํ  cutting
  • การขุด ขณนํ  digging
  • ตะไบ โลหขาทโก  file
  • ฆ้อน กูฏํ  hammer
  • โซ่ อโยทามํ  iron chain
  • เครื่องทอผ้า เวโม  loom
  • ตะลุมพุก ไม้ตีคลี ค้อนไม้ กฏฺฐหตฺโถ  mallet
  • กุทฺทาโล  mammotty
  • ลายนํ เครื่องตัดหญ้า  mowing
  • ตะปู อาณิ nail
  • คานไม้ สำหรับหาบของ กาโช pingo
  • สาแหรก สิกฺกา  pingo basket
  • อีเต้อ ฏงฺโก  pick-axe
  • ปากคีบ คีมปากนกแก้ว แหนบ สณฺฑาโส  pincers
  • คันไถ นงฺคลํ
  • การไถ กสนํ  ploughing
  • ใบไถ ผาโล  ploughshare
  • งอนไถ นงฺคลสีสา  pole of a plough
  • ลูกดิ่ง ลูกตุ้ม โอลมฺพโก  plummet
  • มีดโกน ขุรํ razor
  • เลื่อย กกโจ saw
  • กระสวย ตสโร  shuttle
  • เคียว ทาตฺตํ  sickle
  • ค้อนขนาดใหญ่มาก มหากูโฏ sledgehammer
  • การผ่า ผาลนํ วิทารณํ  splitting
  • trowel กรณี เกรียง
  • vice กฏฺฐปีฬโก คีมจับ
  • weaving วายนํ การทอ
  • whetstone นิกโส หินลับมีด
  • wimble อาราหตฺโถ สว่าน

เวลา

  • กาล เวลา กาโล เวลา  time
  • อดีต อตีโต (กาโล)  past
  • ปัจจุบัน ปจฺจุปนฺโน (กาโล)  present
  • อนาคต อนาคโต (กาโล)  future
  • วัน ทิวโส ทิวสํ; ติถิ ติถิ วันทางจันทรคติ; อโห อหํ
  • วันเพ็ญ วันพระจันทร์เต็มดวง ปุณฺณมี  fullmoon day
  • 14 ค่ำ จุทฺทสมี จาตุทฺทสี-สึ (ติถิ)
    15 ค่ำ ปญฺจทสี-สึ ปณฺณรสี-สึ (ติถิ)
    The 14th/15th day of the half month, day of full/new moon
  • วัน 1 ค่ำ, วันแรกของปักษ์, วันปาฏิบท ปาฏิปโท ปาฏิปททิวโส
  • วันอุโบสถ อุโปสโถ อุโปสถทิวโส อุโปสถทินํ  fast day
  • เพียง/แค่วันเดียว เอกทิวสมตฺตํ  just one day
    ((สิ้นกาล) มีวันหนึ่งเป็นประมาณ)
  • เพียง/แค่วันนี้วันเดียว อชฺเชกทิวสมตฺตํ  just today
    ((สิ้นกาล) มีวันหนึ่งเป็นประมาณ ในวันนี้)
  • วัน (หรือ)สองวัน เอกาหํ ทฺวีหํ, เอกาหทฺวีหํ   a day or two
  • สองสามวัน กติปาหํ   a few days
  • 7 วัน, สัปดาห์ สตฺตาหํ   week
  • ไม่เกิน 7 วัน, ไม่เกินสัปดาห์ สตฺตาหปรม 
    less than 7 days/a week
  • วันในสัปดาห์:
  • วันอาทิตย์ รวิวาโร อาทิจฺจวาโร  Sunday
  • วันจันทร์ จนฺทวาโร  Monday
  • วันอังคาร กุชวาโร  Tuesday
  • วันพุธ พุธวาโร  Wednesday
  • วันพฤหัสบดี คุรุวาโร  Thursday
  • วันศุกร์ สุกฺกวาโร  Friday
  • วันเสาร์ สนิวาโร  Saturday
  • เดือน มาโส  month
  • กึ่งเดือน ครึ่งเดือน ปักษ์ อฑฺฒมาโส อทฺธมาโส ปกฺโข  fortnight, biweekly
  • ข้างขึ้น ชุณฺหปกฺโข สุกฺกปกฺโข bright (lunar) fortnight
  • ข้างแรม กณฺหปกฺโข dark (lunar) fortnight
  • ประมาณ 1 เดือน มาสมตฺต
  • สามเดือน ไตรมาส เตมาสํ (ตัทธิต)
  • ปี สํวจฺฉโร สํวจฺฉรํ สรโท วสฺโส วสฺสํ  year
  • ฤดู อุตุ อุตุ  season
  • ฤดูร้อน คิมฺหาโน  summer summertime
  • ฤดูฝน วสฺสาโน วสฺโส วสฺสํ  rainy season
  • ฤดูหนาว เหมนฺโต  winter
  • ฤดูใบไม้ร่วง สรโท  autumn/fall
  • ฤดูใบไม้ผลิ วสนฺโต  spring springtime
  • พุทธันดร พุทฺธนฺตรํ (ระยะเวลาระหว่างพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่งกับอีกพระองค์หนึ่ง)
  • กัป กัลป์ กปฺโป (กำหนดอายุของโลก; กำหนดอายุของสัตว์ =อายุกัป เช่น 100 ปี)
  • อายุกัป อายุกปฺโป
  • เวลากลางวัน ภาคกลางวัน ทิวา  นิ. ทิวสภาโค  day
  • เวลากลางคืน ภาคกลางคืน รตฺติ รตฺติภาโค  night
  • เวลาใกล้รุ่ง เช้าตรู่ เช้ามืด ปจฺจูโส ปจฺจุสฺโส ปจฺจูสสมโย ปจฺจุสฺสสมโย  early morning
  • อรุณ อรุโณ อรุโณทโย  dawn
  • เวลาเช้า ปุพฺพณฺโห ปุพฺพณฺหสมโย ปภาตํ; ปาโต   นิ.  forenoon
  • เวลาสาย อุสฺสุโร อุสฺสูโร (กาลมีพระอาทิตย์ในเบื้องบน)
  • เวลาเที่ยงวัน มชฺฌณฺโห มชฺฌนฺติโก  midday noon
  • เวลาบ่าย อปรณฺโห  afternoon
    วฑฺฒมานกจฺฉายา (เวลามีเงาอันเจริญ)
  • เวลาเย็น สาโย
  • เวลาเย็นนัก ดึกนัก อติสาโย
  • พลบค่ำ สมนฺธกาโร ปโทโส วิกาโล
  • เที่ยงคืน นิสีโถ อฑฺฒรตฺโต อฑฺฒรตฺตา อฑฺฒรตฺติ อฑฺฒรตฺตํ  midnight
  • กาลชั่วครู่ มุหุตฺโต (กาโล)
  • ปฐมยาม ปฐมยาโม
  • มัชฌิมยาม มชฺฌิมยาโม
  • ปัจฉิมยาม ปจฺฉิมยาโม

ในวัน

  • ในวันวาน เมื่อวาน หิยฺโย  yesterday
  • ในวันซืน เมื่อวานซืน ปรหิยฺโย ปเร  day before yesterday
  • ในวันนี้ อชฺช สชฺชุ  today
  • ในวันพรุ่งนี้ เสฺว สุเว อปรชฺชุ  tomorrow
  • ในวันมะรืน ปรสุเว  day after tomorrow
  • ในวันรุ่งขึ้น ในวันต่อมา ในวันถัดไป (ของวันที่กล่าวถึง) ปุนทิวเส; อปรชฺชุ (ในวันอื่นอีก)  next day, the following day 
    เช้าตรู่วันรุ่งขึ้น ปุนทิวเส ปาโตว (early) the next morning
  • ในวันอื่น ปรชฺชุ  other day
  • ในวันอื่นๆ อญฺเญสุ ทิวเสสุ other days
  • ในวันหนึ่ง เอกทิวสํ  one day, on a certain day
  • ในวันนั้น ตสฺมึ ทิวเส, ตํทิวสํ  on that day
  • ในวันอุโบสถนั้น ตทหุโปสเถ (ตํ-อห-อุโปสถ)
  • ในวันเดียวกันนั้น ตํทิวสเมว  on the same day
  • ในวันที่ 7 สตฺตเม ทิวเส  on seventh day
  • ในวันที่ 7 จากวันนี้ อิโต สตฺตเม ทิวเส  seven days from now

ในขณะ ในสมัย ...

  • ในขณะนั้น ตสฺมึ ขเณ, ตํขณํ สชฺชุ
  • ในขณะนั้นทีเดียว ตํขณญฺเญว
  • ในสมัยนั้น ตสฺมึ สมเย, เตน สมเยน, ตํ สมยํ
  • ในสมัยหนึ่ง เอกสฺมึ สมเย, เอเกน สมเยน, เอกํ สมยํ
  • ในปีนี้ อิมสฺมึ สํวจฺฉเร

ในเวลา ในกาล

  • ในเวลากลางวัน ทิวา
  • ในเวลากลางคืน รตฺติยา-ยํ รตฺตึ รตฺตํ
  • ในเวลาเช้า ปาโต ปุพฺพณฺเห ปุพฺพณฺหสมเย
  • ในเวลาเช้าตรู่ ปาโตว
  • ในเวลาอรุณ(รุ่ง) อรุเณ อรุณุคฺคมนกาเล
  • ในเวลาใกล้รุ่ง ปจฺจูเส ปจฺจูสกาเล ปจฺจูสสมยํ-เย
  • ในเวลาเที่ยงวัน มชฺฌณฺเห มชฺฌนฺติเก มชฺฌนฺติกสมเย
  • ในเวลาบ่าย อปรณฺเห วฑฺฒมานกจฺฉายาย (ในเวลามีเงาอันเจริญ)
  • ในเวลาเย็น สายํ สายณฺเห สายณฺหสมเย
  • ในเวลาเย็นนัก ดึกนัก อติสายํ
  • ในเวลาพลบค่ำ สมนฺธกาเร ปโทเส วิกาเล
  •  
  • ในกาลนี้ เดี๋ยวนี้ อิทานิ เอตรหิ สมฺปติ อธุนา
  • ในกาลก่อน ปุพฺเพ ปุเร ปุรา ภูตปุพฺพํ
  • ในกาลภายหลัง ปจฺฉา อปรภาเค
  • ในกาลชั่วครู่ มุหุตฺตํ
  • ในกาลชั่วครู่นั้น ตํมุหุตฺตํ
  • ในกาลอันสมควร กาลํ กลฺลํ
  • ในกาลใด เมื่อใด ยทา (ไม่ใช่คำถาม)
  • ในกาลนั้น เมื่อนั้น ตทา อถ
  • ในกาลนั้น ครั้งนั้น อถ ครั้งนั้นแล 'อถ โข'
  • ครั้งนั้น ในวันหนึ่ง, ครั้นภายหลัง ณ วันหนึ่ง อเถกทิวสํ
  • ในกาลไร เมื่อไร กทา
  • ในกาลหนึ่ง บางครั้ง บางที บางคราว เอกทา
  • ในกาลทั้งปวง ในกาลทุกเมื่อ สพฺพทา สทา  always
  • ในกาลไหนๆ บางคราว บางครั้ง “กทาจิ กรหจิ(ใช้คู่กัน ยกเว้นในคาถา) กุทาจนํ
  • ในเวลา (ที่เขา) ตายแล้ว มตกาเล (ในกาล แห่งเขา ตายแล้ว) — อดีต
  • ในเวลา (กำลัง)(จะ)ตาย ในเวลาใกล้ตาย มรณกาเล 
    (ในกาลเป็นที่ตาย แห่งเขา) — ปัจจุบัน
  • ในเวลานอน สยนกาเล (ในกาลเป็นที่นอน แห่งเขา)
  • ในเวลาไป คมนกาเล (ในกาลเป็นที่ไป แห่งเขา)
  • ในกาลที่พระเถระเข้าไปในระหว่างพุ่มไม้แล้วออกมา
    เถรสฺส คจฺฉนฺตรํ ปวิสิตฺวา นิกฺขมนกาเล 
    (ในกาลเป็นที่ เข้าไปแล้ว ในระหว่างแห่งพุ่มไม้ ออกมา แห่งพระเถระ)
  • ในเวลาที่มาสู่ที่ใกล้ตน อตฺตโน สนฺติกํ อาคตกาเล  
    (ในกาล แห่งเขา มาแล้ว สู่ที่ใกล้ แห่งตน)
  • ในตอนแก่ มหลฺลกกาเล (ในกาล แห่งตน เป็นคนแก่)
  • ในตอนเด็ก ตรุณกาเล
  • ในตอนหนุ่ม ทหรกาเล
  • ในเวลาเป็นสุนัข สุนขกาเล 
    (ในกาล แห่งเขา เป็นสุนัข)
  • ในเวลาอายุ 16 ปี โสฬสวสฺสกาเล 
    (ในกาล แห่งตน เป็นผู้มีกาลฝน 16)
  • ในกาลสิ้นอายุ อายุหปริโยสาเน 
    (ในกาลเป็นที่สุดลงรอบแห่งอายุ)
  • ในเวลาอยากจะกิน ภุญฺชิตุกามกาเล
    (ในกาล แห่งตน เป็นผู้ใคร่เพื่ออันกิน)
  • (ใน)สมัยพระพุทธเจ้ากัสสปะ กสฺสปพุทฺธกาเล 
    (ในกาลแห่งพระพุทธเจ้าพระนามว่ากัสสปะ)
  • แทบบาทมูลของพระพุทธเจ้าพระนามว่ากัสสปะ
    กสฺสปพุทฺธสฺส ปาทมูเล (แม้ไม่มีคำเกี่ยวกับเวลา แต่ก็มีนัยะถึงกาลเวลา =สมัยพระพุทธเจ้ากัสสปะ)
  • . . . . . .
  • ในเวลาปวารณาจำพรรษาแล้ว
    ปวาเรตฺวา วุตฺถวสฺสกาเล
  • ในเวลาทำทุกกรกิริยา ทุกฺกรการิกกาเล
  • ในเวลามีภิกษาหาได้ยาก ทุพฺภิกฺขกาเล ทุพฺภิกฺเข (กาเล) (ในกาลมีภิกษาอันเขาได้โดยยาก)
  • ในอัตภาพที่ 3 จากอัตภาพนี้, ในชาติที่ 3 จากชาตินี้ อิโต ตติเย อตฺตภาเว (ในอัตภาพที่ 3 จากอัตภาพนี้)
  • ในที่สุดแห่งแสนกัปจากกัปนี้, (นับถอยหลัง/ย้อนหลังไปแสนกัป) 
    อิโต ((ภทฺท)กปฺปโต) สตสหสฺสกปฺปมตฺถเก (ในที่สุดแห่ง กัปแสนหนึ่ง/กัปมีแสนเป็นประมาณ แต่ภัททกัปนี้)
  • ในร้อยอัตตภาพ/ชาติ อตฺตภาวสเต ตเถว มโต (ในร้อยแห่งอัตภาพ)
  •  
  • (ในเวลา)ก่อน(แห่ง)ภัตร ก่อนอาหาร ปุเรภตฺตํ
  • (ในเวลา)ภายหลัง(แห่ง)ภัตร หลังอาหาร ปจฺฉาภตฺตํ
  • (ใน)ภายในฤดูฝน ภายในพรรษา อนฺโตวสฺสํ
  • (ในเวลา)ก่อนอรุณ ปุรารุณํ
  • ในลำดับเวลาที่ตนคิด จินฺติตสมนนฺตรํ อาคนฺตฺวา (ในลำดับแห่งเหตุอันตนคิดแล้ว)
  • (ในกาล)ต่อมา อปรภาเค กาเล (ในกาลอันเป็นส่วนอื่นอีก)
  • ในเวลาแสดงธรรมจบ พอแสดงธรรมจบ เทสนาวสาเน/เทสนาปริโยสาเน กาเล (ในกาลเป็นที่สุดลง(รอบ)แห่งพระเทศนา) #อนุโมทนาวสาเน คาถาปริโยสาเน
  • ขอจงรอก่อน อาคเมหิ ตาว (ยังกาลให้มา ก่อน)
  • ขอจงรอสักครู่ มุหุตฺตํ อาคเมหิ (ยังกาลครู่หนึ่งให้มา)
  • ขอจงรอ จนกว่าเขาจะมา
    ยาว โส อาคจฺฉติ อาคเมหิ.
    อาคเมหิ ยาว โส อาคจฺฉติ.
  • เก็บไว้ จนกว่าเขาจะมา ยาว โส อาคจฺฉติ (ตาว) นิกฺขิปติ
    (เขาย่อมมาเพียงใด … ย่อมเก็บไว้ เพียงนั้น)
  • ให้เวลาผ่านไปสักหน่อย โถกํ วีตินาเมสิ  (ยังกาล) หน่อยหนึ่ง ให้น้อมไปล่วงวิเศษแล้ว
  • ค่อยๆ ช้าๆ เบาๆ สณิกํ มนฺทํ
  • ช้า นาน ยั่งยืน จิรํ จิรสฺสํ จิราย จิร จิรกาลํ สณิกํ
  • นานกว่า ยั่งยืนกว่า จิรตร
  • ไม่นาน อจิรํ, น จิรสฺเสว (ต่อกาลไม่นานนั่นเทียว)
  • เร็ว โดยเร็ว พลัน โดยพลัน ขิปฺปํ ขิปฺป ตุวฏํ ตุวฏ สหสา ลหุํ ลหุ ลหุโส สีฆ สีฆํ สีฆสีฆํ สีฆสีฆ
  • คล่อง สีฆม
  • โดยเร็ว เวเคน
  • อันมีในวันพรุ่งนี้ สฺวาตน
  • เพื่อภัตรพรุ่งนี้ สฺวาตนาย (ภตฺตาย)
    (เพื่อภัตรอันมีในวันพรุ่ง)
  • อันมีในวันนี้ อชฺชตน
  • เพื่อภัตรวันนี้ อชฺชตนาย (ภตฺตาย)
    (เพื่อภัตรอันมีในวันนี้)

ความถี่

  • ทุกวัน เทวสิกํ  (ทิวส-ณิก), ทิวเส ทิวเส, สุเว สุเว (ในวัน (หนึ่ง)ๆ) every day, daily
  • ประจำวัน รายวัน อนุทินํ   every day, daily
  • ทุกๆ เดือน มาเส มาเส   ในเดือน(หนึ่ง)ๆ monthly
  • ทุกครึ่ง/กึ่งเดือน อนฺวฑฺฒมาสํ อนฺวทฺธมาสํ   fortnightly biweekly
  • ทุก 6 เดือน อนุจฺฉมาสํ   every 6 months
  • ทุกปี อนุสํวจฺฉรํ   yearly, annual
  • ทุกๆ ขณะ ขเณ ขเณ   every moment
  • บ่อยๆ หลายครั้ง เนืองๆ ปุนปฺปุนํ อสกึ อเนกวารํ ภุสํ อภิกฺขณํ อภิณฺหํ มุหุํ  often, many times
  • เสมอ สพฺพทา สทา  always
  • (เป็น)ประจำ, (ในกาล)เป็นนิตย์ นิจฺจํ นิพทฺธํ สตตํ  always
  • ตลอดไป สทาตนาย  forever
  • ต่อเนื่อง ไม่หยุด ไม่ขาดตอน นิรนฺตรํ  continuous, uninterrupted
  • อีก ปุน  again
  • บางครั้ง กทาจิ  sometimes
  • ครั้งเดียว คราวเดียว สกึ เอกวารํ เอกกฺขตฺตุํ  one time, once
  • สองครั้ง สามครั้ง สี่ครั้ง …
    ทฺวิกฺขตฺตุํ ติกฺขตฺตุํ จตุกฺขตฺตุํ …  2 times …
  • จนถึงสามครั้ง ยาวตติยํ ยาวตติยกํ (สิ้นการกำหนดเพียงใดแห่งวาระที่ 3)  up to the 3rd time
  • เจ็ดครั้ง สตฺตกฺขตฺตุํ  7 times
  • ไม่เกินเจ็ดครั้ง สตฺตกฺขตฺตุปรม (มีเจ็ดครั้งเป็นอย่างยิ่ง)  not more than 7 times
  • ร้อยครั้ง สตกฺขตฺตุํ  100 times
  • (สิ้น)สองครั้ง เทฺว วาเร = ทฺวิกฺขตฺตุํ
  • (สิ้น)สามครั้ง ตโย วาเร = ติกฺขตฺตุํ
  •  
  • วันละ 2 ครั้ง
    [ทิวเส ทิวเส/เทวสิกํ/เอกทิวสํ/ทิวสสฺส
    เทฺว วาเร/ทฺวิกฺขตฺตุํ]
    ทิวเส ทิวเส ทฺวิกฺขตฺตุํ  (สองครั้ง ในวัน (หนึ่ง)ๆ)
    เอกทิวสํ ทฺวิกฺขตฺตุํ (สองครั้ง ในวันหนึ่ง)
    เทวสิกํ ทฺวิกฺขตฺตุํ (สองครั้ง ทุกๆ วัน)
    วันละ 2 ครั้ง/2 ครั้งต่อวัน ทิวสสฺส เทฺว วาเร 
    (สิ้นวาระ ท. สอง แห่งวัน)
  • (ไป) วันละ 7 โยชน์ ทิวเส ทิวเส สตฺต โยชนานิ (คจฺฉติ) (ย่อมไป สิ้นโยชน์ ท. เจ็ด ในวันๆ)
  • (ไป) วันละโยชน์ เทวสิกํ โยชนํ (คจฺฉติ)
    (ย่อมไป สิ้นโยชน์หนึ่ง ทุกๆ วัน)
  • (ไป) วันละ 50 โยชน์ เอกทิวสํ ปญฺญาสโยชนานิ (คจฺฉติ) (ย่อมไป สิ้นโยชน์ห้าสิบ ท. ในวันหนึ่ง)
  • (ให้) วันละ 1,000 (กหาปณะ) เทวสิกํ สหสฺสํ (เทติ) (ย่อมให้ ซึ่งพันแห่งทรัพย์ ทุกๆ วัน)
  • (ได้ กหาปณะ)วันละ 8 กหาปณะ
    เทวสิกํ อฏฺฐฏฺฐกหาปเณ (ลภติ)
    (ย่อมได้ ซึ่งกหาปณะแปดแปด ท. ทุกๆ วัน)
  • เดือนละ 8 วัน/8 วันต่อเดือน
    มาสสฺส อฏฺฐ ทิวเส (สิ้นวัน ท. แปด ต่อเดือน)
  • ตลอด 8 วันของเดือน มาสสฺส อฏฺฐ ทิวเส (ตลอดวัน ท. แปด แห่งเดือน) หากเหตุการณ์เกิดขึ้นเดือนเดียว ให้แปลว่า 'ของ/แห่ง'
  • (ทำอุโบสถกรรม) 8 ครั้ง ต่อเดือน
    มาสสฺส อฏฺฐ  (อุโปสถกมฺมานิ กโรติ) (ย่อมทำ ซึ่งอุโบสถกรรม ท. 8 ต่อเดือน)
  • วันละ 2 ครั้ง ทิวสสฺส เทฺว วาเร 
    2 times a day, twice a day
    ครั้งละ 2 วัน ทฺวีหวาเรน, เทฺว เทฺว ทิวเส, วารสฺส เทฺว ทิวเส
    every 2 days, 2 days at a time, 2 days per session
  • ครั้งละ 7 วัน สตฺตาหวาเรน (ตามวาระแห่งวัน 7) weekly
  • ครั้งละ 7 วัน, ตลอด 7 วันๆ
    สตฺต สตฺต ทิวสานิ (ตลอดวัน ท. 7ๆ)
  • (เที่ยวบิณฑบาต ในบ้าน) บ้านละ 2 วัน
    (คาเมสุ) เทฺว เทฺว ทิวเส (ปิณฺฑาย จรึสุ)
  • (ให้) ทรัพย์ครั้งละพัน(ๆ).
    สหสฺสํ สหสฺสํ (เทติ) (ย่อมให้ ซึ่งพันแห่งทรัพย์ๆ)
  • (ให้) ครั้งละ/ทีละ 3 แสน/(ให้) ทีละ 3 แสนๆ
    ตีณิ ตีณิ สตสหสฺสานิ (เทติ)
    (ย่อมให้ ซึ่งแสนแห่งทรัพย์ ท. สามๆ) (ให้ 3 แสนๆ)
  • (โบยด้วยหวาย) ครั้ง/คราวละ 4 เส้นๆ จตุกฺเก จตุกฺเก (กสาหิ ปหริตฺวา) (เฆี่ยนแล้ว) ด้วยหวาย ท. (ในเพราะการประหาร) มีประมาณ 4 มีประมาณ 4
  • (ฆ่าโจร) (ครั้งละ) 500ๆ
    ปญฺจสเต ปญฺจสเต โจเร (ฆาเตติ)
    (ย่อมฆ่า ซึ่งโจร ท. มีร้อยห้าเป็นประมาณๆ)
  • (ทำกุศล) คราวละน้อยๆ โถกํ โถกํ (กุสลํ กโรติ)
    (ย่อมทำ ซึ่งกุศล หน่อยหนึ่งๆ)
  • ในครั้งที่ 2 ทุติเย วาเร (ปูรณสังขยา)
  • แม้ในครั้งที่ 2 ทุติยมฺปิ (ทุติยํ ปิ)  (ปูรณสังขยา)
    (ทุติยาวิภัตติในอรรถสัตตมีวิภัตติ)
  • แม้ในครั้งที่ 3 ตติยมฺปิ (ปูรณสังขยา)

ระยะเวลา ใช้เวลา (ทุติยาวิภัตติ - สิ้น ตลอด)

  • ประมาณ/สักครึ่งเดือน อฑฺฒมาสมตฺตํ 
    ((สิ้นกาล) สักว่าเดือนด้วยทั้งกึ่ง)
  • ตลอดวัน ทิวสํ
  • ตลอดคืน รตฺตึ
  • ตลอดทั้งคืน สพฺพรตฺตึ (ตลอดราตรีทั้งปวง) 
    สกลรตฺตึ (ตลอดคืนทั้งสิ้น)
  • ตลอดคืนและวัน ตลอดคืนตลอดวัน ทั้งคืนทั้งวัน
    รตฺตินฺทิวา-วํ (ตลอดคืนและวัน)
  • ตลอดวัน (เฉพาะกลางวัน) ทิวสํ
  • ตลอดครึ่งวัน (เฉพาะกลางวัน) อุปฑฺฒทิวสํ
  • ตลอดราตรี/กาลนาน ทีฆรตฺตํ  (ตลอดราตรีนาน)
  • 1-2 วัน เอกาหํ ทฺวีหํ (สิ้นวันหนึ่ง สิ้นวัน 2)
  • 2-3 วัน กติปาหํ (สิ้นวันเล็กน้อย) 
    ทฺวีหตีหํ (สิ้นวัน 2 และวัน 3) 
    เทฺว ตโย ทิวเส  (สิ้นวัน ท. สองสาม)
  • (ตลอด) 7 คืน 7 วัน
    สตฺต รตฺตินฺทิวา (ตลอดคืนและวัน ท.7) 
    สตฺตรตฺตินฺทิวํ (ตลอดคืนและวัน 7)
  • (ตลอด) 7 วัน, ตลอดสัปดาห์ สตฺตาหํ (ตลอดวัน 7)
  • เพียง/แค่ 7 วันเท่านั้น สตฺตาหเมว (ตลอดวัน 7 นั่นเทียว) สตฺตาหมตฺตเมว ((สิ้นกาล) มีวัน 7 เป็นประมาณนั่นเทียว) just a week
  • ไม่เกิน 7 วัน, ไม่เกินสัปดาห์
    สตฺตาหปรม (มีวัน 7 เป็นอย่างยิ่ง)
    สตฺตาหโต อุตฺตรึ (น คจฺฉติ) (ย่อมไม่ไป ยิ่ง กว่าวัน 7) less than 7 days/a week
  • เกิน 7 วัน สตฺตาหโต อุตฺตรึ  (คจฺฉติ) (ย่อมไป ยิ่ง กว่าวัน 7)
  • 7-8 วัน สตฺตฏฺฐทิวเส (สิ้นวันเจ็ดและวันแปด ท.)
  • ประมาณ 1 เดือน มาสมตฺตํ 
    ((สิ้นกาล) สักว่าเดือนหนึ่ง)
  • ตลอดพรรษา วสฺสํ (ตลอดพรรษา/กาลฝน)
    ตลอดภายในพรรษา อนฺโตวสฺสํ (ตลอดภายในแห่งพรรษา/กาลฝน)
  • 3 เดือน เตมาสํ (ตลอดประชุม/หมวดแห่งเดือน 3)
  • ตลอดปี สํวจฺฉรํ  ตลอดปีหนึ่ง เอกสํวจฺฉรํ
  • ตลอดอายุ ตลอดชีวิต ยาวตายุกํ 
    (ตลอดการกำหนดมีประมาณเพียงใดแห่งอายุ)
  • (จน)ตลอดชีวิต ยาวชีวํ  (สิ้นการกำหนดเพียงใดแห่งชีวิต)
  • (สิ้น) 4 อสงไขย จตฺตาริ อสงฺเขยฺยานิ
  • ตลอดเวลา (ที่ผ่านมา)นี้ เอตฺตกํ กาลํ (ตลอดกาล มีประมาณเท่านี้)

ในระหว่าง

  • (ไม่ท้อถอย) ในระหว่าง/กลางคัน อนฺตรา  (อโนสกฺกิตฺวา)
  • (ทำกาละ) ในระหว่างเทียว อนฺตราว  (กาลํ กโรติ)
  • ในระหว่างๆ อนฺตรนฺตเร อนฺตรนฺตรา
  • ในระหว่างตอนกลางคืน รตฺติภาคสมนนฺตเร
  • ในระหว่าง 3 เดือน (ภายในพรรษา)
    (อนฺโตวสฺเส) เตมาสพฺภนฺตเร
  • (ช่วงเวลา/กรรมที่ทําไว้)ในระหว่างภพ ภวนฺตเร
  • ในระหว่างภัตร อนฺตราภตฺตํ
  • ในระหว่างภัตรมื้อเดียวเท่านั้น
    เอกสฺมิญฺเญว อนฺตราภตฺเต
  • ในระหว่างแห่งปฐมยาม ปฐมยามสมนนฺตเร
  • ในระหว่างแห่งมัชฌิมยาม มชฺฌิมยามสมนนฺตเร

โดย (ตติยา)

  • โดย(กาล)ล่วงไปแห่งบิดา/มารดา, เมื่อบิดา/มารดาตาย ปิตุอจฺจเยน, ปิตุ อจฺจเยน (โดยการล่วงไปแห่งบิดา) (มาตุอจฺจเยน, มาตาปิตุอจฺจเยน)
  • โดย(กาล)(อัน)ล่วงไป /ครั้นล่วง(ไป) / เมื่อผ่านไป 10 เดือน ทสมาสจฺจเยน, ทสนฺนํ มาสานํ อจฺจเยน 
    (โดยการล่วงไปแห่งเดือน (ท.) 10)
  • โดยล่วงไป 7 ปี สตฺตวสฺสจฺจเยน, สตฺตนฺนํ วสฺสานํ อจฺจเยน (โดยการล่วงไปแห่งปี (ท.) 7)
  • โดยล่วงไป 7 วัน / 1 สัปดาห์
    สตฺตาหจฺจเยน, สตฺตาหสฺส อจฺจเยน
    (โดยการล่วงไปแห่งวัน 7) a week ago
  • โดยล่วงไป 2-3 วัน
    กติปาหจฺจเยน (โดยการล่วงไปแห่งวันเล็กน้อย)
    ทฺวีหตีหจฺจเยน (โดยการล่วงไปแห่งวัน 2 และวัน 3)
    a few days ago
  • (โดย)สองสามวัน กติปาเหน (โดยวันเล็กน้อย) for a few days
  • (โดย) 8 เดือน (จึงสำเร็จ) อฏฺฐหิ มาเสหิ นิฏฺฐิตา (โดยเดือน ท. 8)
  • ตาม/โดยวาระ วาเรน

ต่อ (จตุตถี)

  • (ต่อกาล) 2-3 วันเท่านั้น กติปาหสฺเสว
  • (ต่อกาล)ไม่นาน น จิรสฺเสว (ต่อกาลไม่นานนั่นเทียว)

ตั้งแต่ (ปัญจมี)

  • ตั้งแต่นั้น ตั้งแต่กาลนั้น ตโต (กาลโต) ปฏฺฐาย/ปภูติ
  • ตั้งแต่บัดนี้ไป อิโตทานิ ปฏฺฐาย/ปภูติ
  • ตั้งแต่วันนี้ไป อชฺช(กาล)โต ปฏฺฐาย/ปภูติ
  • ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป อชฺชตคฺเค อชฺชตคฺเคทานิ
  • ตั้งแต่ต้น อาทิโต ปฏฺฐาย/ปภูติ
  • ตั้งแต่(เวลาเป็น)เด็ก ทารกกาลโต ปฏฺฐาย/ปภูติ
  • ตั้งแต่วันที่เขาบวช ตสฺส ปพฺพชิตทิวสโต ปฏฺฐาย/ปภูติ

ตั้งแต่... จนถึง...

  • ตั้งแต่พระอาทิตย์ขึ้นไป จนถึงเวลาเที่ยงวัน อรุณุคฺคมนโต ปฏฺฐาย ยาว มชฺฌนฺติกสมยา
  • ตั้งแต่เวลาผนวชจนถึงถูกแผ่นดินสูบ
    ปพฺพชิตกาลโต ปฏฺฐาย ยาว ปฐวิปฺปเวสนา
  • ตั้งแต่บัดนี้ไป จนถึงวันมหาปวารณา
    อิโตทานิ ปฏฺฐาย ยาว มหาปวารณา ตาว …

 

ประโยคแทรก (ลักขณะ)

  • เมื่อบิดา/มารดาตาย ปิตริ มเต, มาตริ มตาย 
    (ครั้นเมื่อบิดา/มารดาตายแล้ว)
  • เมื่อบิดา/มารดาตาย (ทำกาละ)
    ปิตริ กาลกเต (สนฺเต), มาตริ กาลกตาย (สนฺติยา) (ครั้นเมื่อบิดา/มารดา เป็นผู้มีกาละอันกระทำแล้ว มีอยู่)
  • เมื่อมารดาและบิดาตายแล้ว
    มาตาปิตูสุ มเตสุ/กาลกเตสุ (ครั้นเมื่อบิดา/มารดาตายแล้ว)
  • เมื่อเป็นเช่นนั้น เอวํ สนฺเต; อถ (ในเลขใน)
    (ครั้นเมื่อความเป็น อย่างนั้น มีอยู่)
  • พอกล่าว(ว่า...)เท่านั้น “...ติ วุตฺตมตฺเตเยว
  • พอปรากฏขึ้นเท่านั้น ปาตุภูตมตฺเตเยว
  •  
  • เมื่อเวลาเที่ยงล่วงไปแล้ว มชฺฌนฺติเก อติกฺกนฺเต
    (ครั้นเมื่อท่ามกลางแห่งวัน ก้าวล่วงแล้ว)
  • เมื่อ 7 วัน ล่วงเลยไป/ผ่านไป สตฺตาเห วีติวตฺเต 
    (ครั้นเมื่อวัน 7 เป็นไปล่วงวิเศษแล้ว)
  • เมื่อเวลาประมาณกึ่งเดือนล่วงไปแล้ว อฑฺฒมาสมตฺเต อติกฺกนฺเต ((ครั้นเมื่อกาล) สักว่ากึ่งแห่งเดือน ก้าวล่วงแล้ว)
  • เมื่อเดือนที่ 1 ล่วงเลยไป/ผ่านไป ปฐมมาเส อติกฺกนฺเต 
    (ครั้นเมื่อเดือนที่ 1 ก้าวล่วงแล้ว)
  •  

ประธานของพากย์ (ปฐมา)

  • 10 เดือนผ่านไป ทส มาสา อติกฺกนฺตา 
    (เดือน ท. 10 ก้าวล่วงแล้ว)
  • อติทุกฺเขน โน สตฺต ทิวสา อติกฺกนฺตา
    (7 วันของพวกเราล่วงไปโดยยากยิ่ง)
  •   .

อื่นๆ

 

  • ลำดับ, การสืบๆ กันมา ปรมฺปรา
  • โดยลำดับแห่งอาจารย์ อาจริยปรมฺปราย อาจริยปรมฺปรโต
  • อันสืบๆ กันมา ปรมฺปร (ปรมฺปรโภชนํ รับนิมนต์แล้วแต่ไปฉันที่อื่น)

นิบาตบอกปริจเฉท

  • เพียงไร กีว (คำถาม)
  • เพียงใด ยาว เพียงนั้น ตาว
  • มีประมาณเพียงใด ยาวตา
    มีประมาณเพียงนั้น ตาวตา
  • มีประมาณเท่าใด กิตฺตาวตา (คำถาม)
    มีประมาณเท่านั้น เอตฺตาวตา
  • เพียงใดนั่นเทียว ยาวเทว
    เพียงนั้นนั่นเทียว ตาวเทว
  • โดยรอบ สมนฺตา
  • ด้วย(ลำดับแห่ง)คำเพียงเท่านี้
    ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ เอตฺตาวตา
  • (ใน)ทันใดนั้นเอง ในขณะนั้นนั่นเทียว ตาวเทว

 

นิบาตบอกอุปมาอุปไมย เปรียบเทียบ

  • ฉันใด ยถา เสยฺยถา
  • ฉันนั้น ตถา เอวํ
  • ราวกะ ราวกะว่า ราวกับ เพียงดัง ดุจ ดุจดัง เหมือน วิย อิว
  • เหมือน เช่น  ยถาตํ
  • เช่นกับ เหมือน สทิส

นิบาตบอกประการ

  • โดยประการใด ยถา กถํ
  • โดยประการนั้น ตถา เอวํ

 

นิบาตมีเนื้อความต่างๆ

  • ปุน    อีก
  • ปุนปฺปุนํ    บ่อยๆ
  • ยิ่ง ภิยฺโย
  • โดยยิ่ง ภิยฺโยโส ภุสํ*
  • โดย (ความ)เคารพ สกฺกจฺจํ
  • โดยชอบ สมฺมา
  • ผิด มิจฺฉา
  • เท็จ ไม่จริง มุสา อลิกํ
  • เปล่า มุธา
  • กับ พร้อม สห สทฺธึ
  • เอง ด้วยตนเอง สยํ สามํ
  • แน่ แน่แท้ แน่นอน นูน อทฺธา อวสฺสํ
  • โดยแท้ อญฺญทตฺถุ-ถุํ อทฺธา ตคฺฆ ชาตุ กามํ สสกฺกํ
  • ก่อน เพิ่ง ยัง ตาว
  • ก่อน ก่อนกว่า ล่วงหน้า (ภิกฺขูหิ) ปุเรตรํ
  • ก่อน ทีแรก ครั้งแรก ปฐมํ
  • ก่อน (คนอื่น/สิ่งอื่น)ทั้งหมด สพฺพปฐมํ
  • ภายหลัง ปจฺฉา  afterwards
  • ภายหลัง (คนอื่น/สิ่งอื่น)ทั้งหมด สพฺพปจฺฉา
  • ตั้งแต่ จำเดิม ปฏฺฐาย ปภูติ
  • แม้น้อยหนึ่ง กิญฺจาปิ
  • บ้าง กฺวจิ
  • โถกํ อีสกํ นิดหน่อย, เล็กน้อย
  • ไกล อารา
  • แจ้ง ชัด อาวิ อาวี
  • โอ โห อโห
  • ต่างๆ นานา
  • ถ้าอย่างนั้น เตนหิ
  • อย่างเดียว เท่านั้น เกวลํ
  • โดยกำหนดมีในที่สุด อนฺตมโส
  • ชื่อ ชื่อว่า ธรรมดา ธรรมชาติ นาม
  • เพราะเหตุนั้น ว่า...ดังนี้ ด้วยประการฉะนี้ ชื่อว่า อิติ
  • พอละ อลํ
  • สมควร อลํ
  • ควรกัน อลํ
  • สามารถ อลํ
  • ประดับ ตกแต่ง อลํ (อลงฺกโรติ)
  • เห็นจะ..., น่าจะ… มญฺเญ
  • สืบๆ กันมา ปรมฺปรา

นิบาตสำหรับผูกศัพท์และประโยค

  • ดังจะกล่าวโดยย่อ ความย่อว่า หิ   (สงฺเขปโชตก)
  • ดังจะกล่าวโดยพิสดาร ความพิสดารว่า หิ  (วิตฺถารโชตก)
  • ก็ แล ก็แล (เริ่มต้นข้อความ) หิ ปน ตุ (วากฺยารมฺภ)
  • ก็...เล่า ปน
  • อีกอย่าง/ประการหนึ่ง อนึ่ง เออก็ อปิจ
  • อนึ่ง อโถ
  • ส่วน(ว่า) ฝ่าย(ว่า) ปน ตุ
  • แต่(ว่า) ปน ตุ  but
  • เพราะ(ว่า) หิ  because
  • จริงอยู่ แท้จริง ความจริง อันที่จริง หิ   in fact, indeed
  • จริงอย่างนั้ัน ตถาหิ
  • ด้วย และ   and
  • หรือ ก็ดี ก็ตาม วา  or
  • บ้าง วา ปิ อปิ
  • แม้ ปิ อปิ  even
  • อีกอย่างหนึ่ง อถวา
  • อนึ่ง ปน

นิบาตบอกปริกัป [เงื่อนไข]

  • ถ้า ถ้าว่า หากว่า สเจ เจ ยทิ อถ
  • ผิว่า ยทิ
  • กระไรหนอ ยนฺนูน

นิบาตบอกความสงสัย

  • ไฉนหนอ อปฺเปว
  • ไฉนหนอ ถ้ากระไร ชื่อแม้ไฉน 'อปฺเปว นาม'

คำถาม (ปุจฉนะ)

  • หรือ ทำไม อย่างไร กึ
  • หรือ หรือหนอ นุ
  • หรือ บ้างหรือ แลหรือ กจฺจิ
  • บ้าง อย่างไร ใช่หรือ หรือหนอ อะไร 'กจฺจิ นุ'
  • หรือหนอ เพราะเหตุใด กินฺนุ
  • อย่างไร กินฺติ
  • เพราะเหตุไร กสฺมา; กึการณา (สมาส - วิ.บุพ.)
  • เพื่อประโยชน์อะไร กิมตฺถํ กิมตฺถาย (สมาส - วิ.บุพ.)
  • ใคร อะไร โก กา (กึ แปลงเป็น ก)
  • อะไร กึ (แปลงเป็น ก)
  • แลหรือ อย่างไร อย่างไรเล่า กึสุ
  • จากไหน กุโต
  • แก่ใคร เพื่อใคร กสฺส
  • (ใน)ที่ไหน กตฺถ
  • เมื่อไร กทา
  • เท่าไร มีจำนวนเท่าไร มีประมาณเท่าไร มากเท่าไร กติ กิตฺตก กีวตก กีวติก กีว กีวตกํ กิตฺตาวตา
  • นานเท่าไร กีวจิรํ
  • กี่ครั้ง สิ้นครั้งเท่าไร กติกฺขตฺตุํ กติวาเร
  • อายุ/พรรษาเท่าไร กติวสฺโส-สา (อุปสมฺปทาย) (เพิ่มคำว่า ชาติยา/อายุนา เมื่อถามอายุพระ)
  • ไกลเท่าไร กีวทูร
  • จากที่ไกลเท่าไร กีวทูรโต (ฐานโต)
  • (อัน)เป็นอย่างไร/เช่นไร กีทิส
  • ชนิดไหน ประเภทไหน เป็นไฉน กตร กตม
  • อย่างไร ไฉน กถํ
  • มิใช่หรือ นนุ
  • แลหรือ อะไรเล่า จรหิ
  • คือ อย่างไรนี้; แล  [ปทปูรณ] เสยฺยถีทํ
  • หรือว่า อุทาหุ อาทู

นิบาตบอกความได้ยินเล่าลือ

  • ได้ยินว่า กิร ขลุ สุทํ

นิบาตบอกความรับ รับคำ (สัมปฏิจฉนะ)

  • ครับ ค่ะ ใช่ เออ ... อาม อามนฺตา
  • อย่างนั้น ครับ ค่ะ เอวํ
  • ดีแล้ว ดีละ สาธุ สาหุ
  • สมควร เหมาะสม ปติรูปํ โอปายิกํ
  • ไม่หนักใจ ลหุ

นิบาตบอกความเตือน

  • เชิญเถิด อิงฺฆ
  • เอาเถิด หนฺท ตคฺฆ
  •  

นิบาตสักว่าทำบทให้เต็ม (ปทปูรณะ)

  • หนอ นุ วต
  • แล เว หเว โข โว
  • เว้ย เว หเว
  • โว้ย โว
  • สิ สุ

นิบาตบอกปฏิเสธ

  • ไม่ หามิได้ หาได้...ไม่ โน
  • พอ พอละ อย่าเลย อลํ
  • อย่า มา
  • เทียว แหละ
  • เว้น วินา อญฺญตฺร
  • แยก อญฺญตฺร
  • นั่นเทียว นั่นเอง นั่นแหละ เอว

นิทัสสนะ (แสดง, ชี้แจง)

  • อย่างนี้ เอวํ อิติ อิตฺถํ

คุณภาพ ลักษณะ

คุณนามที่เป็น อ การันต์ (ซึ่งมีใช้มากที่สุด) เมื่อนำไปขยายนามนามที่เป็นอิตถีลิงค์ ให้ลง อา ปัจจัยเครื่องหมายอิตถีลิงค์ที่ท้ายคุณนามก่อน เช่น ถูล เป็น ถูลา

  • ดี เจริญ สุนฺทร ภทฺร ภทฺท(ก) กลฺยาณ(ก) ภุส
  • ดีกว่า สุนฺทรตร เสยฺย วร
  • ดีที่สุด สุนฺทรตม เสฏฺฐ
  • ชั่ว เลว หีน ปาป(ก) อสุนฺทร อภทฺทก
  • ชั่ว เลว กว่า หีนตร ปาปตร ปาปิย
  • ชั่ว เลว ที่สุด หีนตม ปาปตม ปาปิฏฺฐ
  • ดียิ่ง อุกฺกํส ภุส
  • ยอดเยี่ยม ปณีต(ก) อติสุนฺทร วิสิฏฺฐ
  • ที่สุด อจฺจนฺต อนฺติม
  • บวร สูงสุด ปวร อุตฺตม อุตฺตร
  • ไม่มีผู้ประเสริฐกว่า  อนุตฺตร อนุตฺตริย
  • สูงส่ง สูงค่า ล้ำเลิศ สุขุม สุขุมาล
  • งาม สวย หล่อ สุรูป อภิรูป โสภณ อภิกฺกนฺต
  • ไม่งาม น่าเกลียด วิรูป อโสภณ
  • น่าดูชม น่าชอบใจ ทสฺสนีย อภิกฺกนฺต มนาป มนุญฺญ
  • อ้วน หยาบ ถูล
  • ผอม กิส กีส
  • เตี้ยมาก แคระ วามน(ก)
  • กระจอก พิการ ขญฺช
  • ค่อม ขุชฺช
  • ง่อย กุณี
  • เป็นโรคอัมพาต ปกฺขหต
  • มีอิริยาบถขาด ฉินฺนิริยาปถ
  • ชราทุพพลภาพ ชราทุพฺพล
  • มีรูปร่างไม่สมประกอบ ปริสทูสก
  • บอด อนฺธ
  • บอดแต่กำเนิด ชจฺจนฺธ
  • บอดข้างเดียว กาณ
  • มีตาข้างเดียว เอกกฺขี
  • ตาเหล่ วลิร
  • หนวก หูหนวก พธิร สุติหีน
  • ใบ้ มูค
  • บอดและใบ้ อนฺธมูค
  • บอดและหนวก อนฺธพธิร
  • ใบ้และหนวก มูคพธิร เอฬมูค
  • ใบ้หนวก (โง่) เอฬมูค
  • บอดใบ้และหนวก อนฺธมูคพธิร
  • มีมือด้วน หตฺถจฺฉินฺน
  • มีเท้าด้วน ปาทจฺฉินฺน
  • มีมือเท้าด้วน  หตฺถปาทจฺฉินฺน 
  • มีหูขาด กณฺณจฺฉินฺน
  • มีจมูกแหว่ง นาสจฺฉินฺน
  • มีหูขาดจมูกแหว่ง กณฺณนาสจฺฉินฺน
  • มีนิ้วมือนิ้วเท้าขาด องฺคุลิจฺฉินฺน
  • มีง่ามมือง่ามเท้าขาด อฬจฺฉินฺน
  • มีเอ็นขาด กณฺฑรจฺฉินฺน
  • ถูกสักหมายโทษ ลกฺขณาหต
  • มีรอยเฆี่ยนด้วยหวาย กสาหต
  • ถูกออกหมายสั่งจับ ลิขิตก
  • มีโรคเรื้อรัง ปาปโรคี
  • มีเท้าปุก สีปที
  • มีมือเป็นแผ่น ผณหตฺถก
  • มีคอพอก คลคณฺฑิก
  • สุก ปกฺก
  • สด ดิบ อาม(ก)
  • แห้ง สุกฺข
  • เปียก ชุ่ม ตินฺต อลฺล
  • ใหม่ สด นว(ก) อภินว
  • เก่า ปุราณ โปราณ(ก) ชิณฺณ(ก)
  • เน่า บูด ปูติก
  • หอม มีกลิ่นหอม สุคนฺธ
  • เหม็น กลิ่นไม่ดี ทุคฺคนฺธ
  • (เป็น)เพียง/แค่/สักว่า… -มตฺต(ก) (ธาตุมตฺตํ วจนมตฺตํ)
  • ฉลาด มีปัญญา กุสล สปฺปญฺญ ปญฺญวนฺตุ ปณฺฑิต เมธาวี อชฬ พฺยตฺต
  • โง่ ปัญญาทึบ ทนฺธ ทุปฺปญฺญ มูฬฺห มนฺทพุทฺธิก ชฬ
  • รวย ร่ำรวย มหทฺธน มหาโภค มหาวิภว ธนวา-วตี [-นฺตุ] อฑฺฒ(ก) อิพฺภ
  • จน ยากจน ทลิทฺท ทฬิทฺท ทุคฺคต
  • ยากจนมาก อติทุคฺคต
  • มีบุญ ปุญฺญ ลกฺขี
  • ไม่มีบุญ อปุญฺญ
  • มีโทษ สาวชฺช
  • ไม่มีโทษ อนวชฺช
  • มีอายุน้อย อปฺปมายุก
  • มีอายุยืน ทีฆายุ ทีฆายุก ทีฆาวุ
  • มีกิจน้อย อปฺปกิจฺจ
  • มีลาภน้อย อปฺปลาภ
  • โชคดี ธญฺญ สุภาค
  • โชคร้าย ทุกฺขิต ภาคฺยหีน
  • มีลูก มีบุตร สปุตฺตก
  • ไม่มีลูก ไม่มีบุตร อปุตฺตก
  • เป็นมิตร ใจดี ช่วยเหลือ อวิรุทฺธ สุหท อนุกูล
  • ไม่เป็นมิตร ใจร้าย ทุหท วิรุทฺธ
  • เป็นศัตรู วิรุทฺธ
  • อ่อนโยน อ่อนนุ่ม มุทุ
  • แข็ง กระด้าง ถทฺธ
  • สามารถ สมตฺถ ปฏิพล  ไม่สามารถ อสมตฺถ
  • เคลื่อนที่ได้ ชงฺคม จล ปาริหาริย
  • เคลื่อนที่ไม่ได้ มั่นคง อจล ถาวร
  • ถาวร เที่ยง นิจฺจ ถาวร
  • ไม่เที่ยง ไม่ถาวร อนิจฺจ อถาวร
  • ขยัน ไม่เกียจคร้าน อนลส ทกฺข อกุสีต
  • เกียจคร้าน ขี้เกียจ อลส กุสีต
  • หนัก ภาริย ครุ(ก) ธุร
  • เบา ลหุ(ก) สลฺลหุก
  • ตึง อสิถิล
  • หย่อน สิถิล สถล อนธิก
  • มั่น มั่นคง แน่น ทฬฺห ทฬฺหี
  • ได้รับการชมเชย อภิตฺถุต
  • ได้รับการนับถือ มานิต พหุมต
  • ถูกดูหมิ่น เหยียดหยาม ดูถูก นินฺทิต วมฺภิต
  • มีชื่อเสียง รู้จักกันดี วิสฺสุต สุปากฏ
  • ไม่ปรากฏ ไม่รู้ อปากฏ อปญฺญาต
  • โหดร้าย จณฺฑ จณฺฑาล ทุฏฺฐ ลุทฺท กุรีร
  • ใจดี การุณิก
  • มีศีล สุสีล
  • ไม่มีศีล ชั่วร้าย ทุสฺสีล
  • สุขภาพดี ไม่มีโรค อคิลาน นิโรค
  • มีแผล บาดเจ็บ วณิต
  • ชำนาญ ปฏุ ทกฺข
  • ปานกลาง มชฺฌิม มตฺตญฺญู
  • นิรันดร์ ต่อเนื่อง สสฺสติก
  • ก้มลง โอนต
  • บ้า คลั่ง อุมฺมาท มตฺต อุมฺมตฺต(ก) อุมฺมตฺติกา
  • เป็นเจ้า เป็นใหญ่ สามี สามินี สามิก

ความรู้สึก บุคคลิก

  • เป็นสุข มีความสุข สุขิต สุมน
  • ดีใจ ร่าเริง สุมน อตฺตมน
  • เป็นทุกข์ มีความทุกข์ ทุกฺขี ทุกฺขินี ทุกฺขิต ทุมฺมน
  • เศร้า ทุมฺมน อนตฺตมน
  • คร่ำครวญ ปริเทวิต
  • ร้องไห้ รุทมาน
  • มีหน้านองด้วยน้ำตา อสฺสุมุโข-ขี-ขินี
  • มีหน้าชุ่มด้วยน้ำตา อสฺสุตินฺเตน มุเขน (อิตถัมภูตะ)
  • มีนัยน์ตาเต็มด้วยน้ำตา อสฺสุปุณฺเณหิ เนตฺเตหิ (อิตถัมภูตะ)
  • มีนัยน์ตาเต็มด้วยน้ำตา อสฺสุปุณฺณเนตฺต
  • ธารน้ำตาจากนัยน์ตาทั้ง 2 ไหลออก อกฺขีหิ อสฺสุธารา ปวตฺตนฺติ
  • เก้อ เขิน เก้อเขิน มงฺกุ มงฺกุภูต
  • ความรัก เปมํ เปมโก-กํ สิเนโห เสฺนโห
  • กล้า วีร สุร
  • ขลาด ภีรุก ขลฺลาต
  • กร่าง นิพฺภย  ‘ไม่กลัว’
  • บริสุทธิ์ ปริสุทฺธ
  • ไม่บริสุทธิ์ อปริสุทฺธ
  • สะอาด นิมฺมล สุทฺธ
  • ไม่สะอาด เศร้าหมอง มลิน อสุทฺธ
  • สกปรก เศร้าหมอง เปื้อน กิลิฏฺฐ
  • ละเอียด ละเอียดอ่อน สุขุม สุขุมาล สณฺห
  • หยาบ กกฺกส ผรุส
  • ตั้ง(ใจ)มั่น สมาหิต
  • ใจไม่ตั้งมั่น เสียสมาธิ อสมาหิต
  • ปิด ปกปิด ปิดกั้น คุตฺต ฉนฺน ปฏิจฺฉนฺน
  • เปิด เปิดเผย วิวฏ อนาวฏ
  • ตรง ไม่งอ อวงฺก อุชุ อุชุก
  • โกง โก่ง งอ วงฺก กุฏิล
  • ผ่องใส สดใส ปภสฺสร ภาสุร
  • ขุ่นมัว อาวิล ไม่ขุ่นมัว อนาวิล
  • มัว หมอง เศร้าหมอง นิปฺปภ มลิน
  • เอื้อเฟื้อ ไม่โลภ อลุทฺธ
  • โลภ ตะกละ ลุทฺธ มหิจฺฉ
  • ลึก ลึกซึ้ง คมฺภีร
  • ตื้น อุตฺตาน(ก)
  • เต็ม บริบูรณ์ ปูร(ก) ปุณฺณ ปริปุณฺณ สมฺปุณฺณ
  • ว่าง เปล่า ตุจฺฉ(ก) ริตฺต สุญฺญ

ความเป็นเจ้าของ

  • เจ้าของ สามิ สามี สามิโก สามินี
  • ไม่มี/ไม่ใช่เจ้าของ อสฺสามิก
  • มีเจ้าของ สสฺสามิก
  • มีสามี สสฺสามิกา
  • อันเป็นของมีอยู่/ผู้เป็นคนมีอยู่ สนฺตก (เป็นของ/คน ที่ตนมี)
  • (อันเป็น)ของตน ส สก สกิย
  • (อันเป็น)ของตน นิช นิย นิยก อตฺตนิย
  • (อันเป็น)ของบิดา ของพ่อ เปตฺติก ปิตุสนฺตก
  • (อันเป็น)ของมารดา ของแม่ มตฺติก มาตุสนฺตก
  • (อันเป็น)ของสงฆ์ สงฺฆิก
  • (อันเป็น)ของมนุษย์ มานุส มานุสก มานุสี
  • (อันเป็น)ของชาวบ้าน คมฺม
  • (อันเป็น)ของชาวเมือง โปรี
  • (อันเป็น)ของตระกูล กุลสนฺตก

อายุ พรรษา

  • อายุ (ความเป็นไปของชีวิต) อายุ อายุ วโย
  • พรรษา/กาลฝน (จำนวนปีฝนที่มีชีวิตอยู่ ของคน)  วสฺโส วสฺสํ
  • ช่วงอายุ อายุปฺปมาณํ
  • อายุขัย หมดอายุ อายุกฺขโย
  • แก่ สูงอายุ มหฺลลก-ลิกา ชิณฺณ(ก) วุฑฺฒ
  • เด็ก หนุ่ม สาว พาล(ก) ตรุณ ตรุณี มาณว(ก) มาณวิกา
  • ใหม่ สด นว(ก) อภินว
  • เก่า ปุราณ โปราณ(ก) ชิณฺณ(ก)
  • มีอายุ/พรรษาเท่าไร กติวสฺส()
    มีอายุ/พรรษา ... ปี -วสฺส-สิก -วสฺสา-สิกา
    มีอายุ/พรรษา 1 ปี เอกวสฺส/วสฺสิก/เอกวสฺสายุก
    มีอายุ/พรรษา 2 ปี ทฺวิวสฺส/วสฺสิก
    มีอายุ/พรรษา 10 ปี ทสวสฺส/วสฺสิก
    มีอายุ/พรรษาไม่ถึง 10 ปี อูนทสวสฺส/วสฺสิก
    มีอายุ/พรรษาเกิน10 ปี อติเรกทสวสฺส/วสฺสิก
  • มีอายุ 80 ปี อาสีติก/อสีติวสฺส/อสีติวสฺสิก
  • (คฤหัสถ์/สามเณร-รี) มีอายุ 12 ปี/ขวบ  ทฺวาทสวสฺโส-สิโก ทฺวาทสวสฺสา-สิกา
  • (ภิกฺษุ/ภิกษุณี/เถระ/เถรี) มีอายุ 30 ปี  
    (ชาติยา/อายุนา) ตึสวสฺโส-สิโก ตึสวสฺสา-สิกา
    (มีกาลฝน 30 โดยการเกิด/โดยอายุ)
  • (ภิกฺษุ/ภิกษุณี/เถระ/เถรี) มีพรรษา 30  
    (อุปสมฺปทาย) ตึสวสฺโส-สิโก ตึสวสฺสา-สิกา (มีกาลฝน 30 โดยอุปสมบท)
  • ไม่มีพรรษา, (บวช)ยังไม่ได้พรรษา อวสฺสิก(า), ‘วสฺสํ (เม) นตฺถิ’
  • มีอายุ 16 ปี โสฬสวสฺส (พหุพ. สมาส) โสฬสวสฺสิก (ตัทธิต)
  • มีอายุ 16 ปี (ย่าง), มีอายุรุ่นราว 16 ปี. โสฬสวสฺสุทฺเทสก-สิกา (เป็นผู้อันบุคคลพึงแสดงขึ้นว่ามีกาลฝน 16) (นามกิตก์)
  • มีอายุราว 15-16 ปี ปณฺณรสโสฬสวสฺสุทฺเทสก-สิกา (ผู้อันบุคคลพึงแสดงขึ้นว่ามีกาลฝน 15 หรือ 16) (นามกิตก์)
  • มีอายุ 20 ปี วีสติวสฺส
    มีอายุ 20 ปีบริบูรณ์ ปริปุณฺณวีสติวสฺส
    มีอายุหย่อน/ไม่ถึง 20 ปี อูนวีสติวสฺส
    มีอายุเกิน 20 ปี อติเรกวีสติวสฺส
  • มีอายุเต็ม(ตามที่กำหนด)  ปริปุณฺณวสฺส

ขนาด ปมาณํ

  • ขนาด ปมาณํ ปริมาณํ มตฺตา
  • ขนาดใหญ่ อุฬารตฺตํ วิสาลตฺตํ
    ขนาดกลาง มชฺฌิมปฺปมาณํ
    ขนาดเล็ก ขุทฺทกปฺปมาณํ
    ขนาดจิ๋ว อติขุทฺทกปฺปมาณํ
  • มีขนาดใหญ่ อุฬาร วิสาล
  • มีขนาดเท่ากัน สมมาณยุตฺต อนูนาธิก ตุลฺยปฺปมาณ
  • สั้น รสฺส
  • ยาว ทีฆ อายต อายาม
  • กว้าง วิตฺถต วิตฺถาร ปุถุล
  • แคบ สมฺพาธ อนายต
  • สูง อุพฺเพธ
  • ลึก คมฺภีร
  • (ประมาณ) 1 โยชน์/โยชน์หนึ่ง โยชนิก (ประกอบแล้วด้วยโยชน์)
  • (ประมาณ) 5 โยชน์ ปญฺจโยชนิก (ประกอบแล้วด้วยโยชน์ 5)
  • (ประมาณ) 9 โยชน์ นวโยชน (มีโยชน์ 9 เป็นประมาณ)
  • 25 โยชน์ โดยประมาณ, (โดย)ประมาณ 25 โยชน์ ปมาณโต ปญฺจวีสติโยชนิก (ประกอบแล้วด้วยโยชน์ 25 โดยประมาณ)
  • (นรกชื่อโลหกุมภี) (ประมาณ/ลึก) 60 โยชน์ สฏฺฐิโยชนิกา โลหกุมฺภี  (ประกอบแล้วด้วยโยชน์ 60)
  • (กาย) สูงประมาณ 25 โยชน์ กาโย ปญฺจวีสติโยชนํ อจฺจุคฺคโต ((กาย ขึ้นไปล่วงแล้ว) สิ้นโยชน์ 25)
  • ยาว 13 ศอก กว้าง 4 ศอก
    เตรสหตฺถายาม จตุหตฺถวิตฺถาร
    (อันยาวโดยศอก 13 อันกว้างโดยศอก 4)
  • (แม่น้ำนั้น) ลึก 1 คาวุต กว้าง 2 คาวุต
    คมฺภีรโต คาวุตํ ปุถุลโต เทฺว คาวุตานิ ตสฺสา นทิยา ปริมาณํ (คาวุตหนึ่ง โดยส่วนลึก คาวุต ท. 2 โดยส่วนกว้าง เป็นปริมาณ แห่งแม่น้ำนั้น)
  • สูงโยชน์หนึ่ง โยชนุพฺเพธ (อันสูงโดยโยชน์หนึ่ง)
  • (บัณฑุกัมพลศิลาอาสน์) ยาว 60 โยชน์ กว้าง 50 โยชน์ หนา 15 โยชน์
    สฏฺฐิโยชนายามํ ปณฺณาสโยชนวิตฺถตํ ปณฺณรสโยชนพหลํ ปณฺฑุกมฺพลสิลาสนํ
    (บัณฑุกัมพลศิลาอาสน์ อันยาวโดยโยชน์ 60 อันกว้างแล้วโดยโยชน์ 50 อันหนาโดยโยชน์ 15)
  • (บัณฑุกัมพลสิลา) (โดย)ยาว 60 โยชน์ (โดย)กว้าง 50 โยชน์ หนา 15 โยชน์
    ทีฆโต สฏฺฐิโยชนา วิตฺถารโต ปญฺญาสโยชนา
    พหลโต ปณฺณรสโยชนา ปณฺฑุกมฺพลสิลา
    (บัณฑุกัมพลศิลา
    อันมีโยชน์หกสิบเป็นประมาณ โดยส่วนยาว
    อันมีโยชน์ห้าสิบเป็นประมาณ โดยส่วนกว้าง
    อันมีโยชน์สิบห้าเป็นประมาณ โดยส่วนหนา)
  • ใหญ่ ยิ่งใหญ่ มหนฺต อุตฺตม
  • ใหญ่โต โอฬาร โอฬาริก
  • เล็ก เล็กน้อย ขุทฺท(ก) ปริตฺต(ก) อณุ(ก) จุล จุลฺล จุฬ
  • ละเอียด ป่น อณุ(ก) จุล จุลฺล จุฬ
  • น้อยและใหญ่ ขุทฺทานุขุทฺทก อณุถูล
  • สูง อุจฺจ อุจฺจํ
  • ต่ำ นีจ นีจํ
  • สูงและต่ำ อุจฺจาวจ
  • ต่ำ อธม นีจ
  • ต่ำ ต่ำช้า หยาบ หีน โอมก

หน่วยวัด

  • โยชน์ โยชนํ
  • คาวุต คาวุตํ (=80 อุสภะ =100 เส้น)
  • คืบ วิทตฺถิ คืบพระสุคต สุคตวิทตฺถิ
  • คืบ กุกฺกุ กุกฺกุ (ศอก?)
  •  

ระยะทาง

  • ใกล้ สมีป อาสนฺน สนฺติก มูล ธุร near
  • ใกล้มาก อจฺจาสนฺน very near
  • ไกล ทูร อารา  far
  • ไกลมาก อติทูร very far
  • ไม่ไกล ใกล้ อวิทูร not far from

อุณหภูมิ

  • เย็น หนาว สีต สีตล 
    cold
  • เย็นมาก หนาวมาก อติสีต very cold
  • ร้อน อุณฺห hot
  • ร้อนมาก อติอุณฺห อจฺจุณฺห very hot

สัมผัส

  • เสมอ เรียบ เกลี้ยง สม สินิทฺธ มฏฺฐ
  • ไม่เรียบ ไม่เสมอ ขรุขระ วิสม

จำนวน ปริมาณ

  • มาก เป็นอันมาก พหุ(ก) พหุล สมฺพหุล อเนก อนปฺปก อธิมตฺต(ก) มหนฺต/มหา
  • นับไม่ได้ ประมาณไม่ได้ มากมาย อปฺปมาณ (น-ปมาณ)
  • พ้น/เกินที่จะนับ, นับไม่ถ้วน, นับไม่ได้ คณนปถาตีต, คณนปถํ วีติวตฺต
  • น้อย อปฺป(ก) อปฺปมตฺต(ก) (อปฺป-มตฺต) อนุมตฺต ปริตฺต(ก) โถก(ก) อีส(ก) โอมก
  • เล็กน้อย สองสาม กติปย ปริตฺต(ก)
  • หย่อน พร่อง อูน(ก)
  • เกิน ยิ่ง อธิก
  • ไม่หย่อน ไม่เกิน อนูน อนธิก
  • เหลือ ที่เหลือ เสส(ก) อวเสส(ก)
  • ทั้งปวง ทั้งหมด ทั้งสิ้น ทุกสิ่ง ทุกอย่าง ทุกคน ... สพฺพ สกล
  • กึ่ง ครึ่ง อฑฺฒํ อทฺธํ * อุปฑฺฒ
  • มีประมาณเท่านี้ เอตฺตก
  • มีประมาณเท่าใด/เพียงใด ยตฺตก (ไม่ใช่คำถาม)
  • มีประมาณเท่านั้น/เพียงนั้น ตตฺตก
  • มีค่า มีราคา อคฺฆนิก 
    มีราคา 1 แสน สตสหสฺสคฺฆนิก 
    มีค่าน้อย อปฺปคฺฆ
    มีค่ามาก มหคฺฆ
  • (มีจำนวน) 1 อสงไขย  อสงฺเขยฺย
  • ชิ้น เปสิ ขณฺโฑ ขณฺฑํ

สัพพนาม (แจกอย่าง ย ศัพท์)

  • นั้น
  • นี้ อิม
  • นั่น (นี้) เอต
  • โน้น อมุ อมุก อสุก
  • ใด (ไม่ใช่คำถาม)
  • อื่น อญฺญ ปร
  • อื่นอีก อปร
  • คนใดคนหนึ่ง สิ่งใดสิ่งหนึ่ง คนหนึ่ง สิ่งหนึ่ง อญฺญตร อญฺญตม
  • คนไหน สิ่งไหน กตร กตม
  • คนหนึ่ง สิ่งหนึ่ง พวกหนึ่ง เอก
  • บางคน บางสิ่ง บางพวก
    เอกจฺจ อปฺเปกจฺจ
  • ทั้งสอง อุภย (แจกอย่าง ย); อุภ (แจกอย่าง อุภ)
  • นอกนี้ อิตร
  • ขวา ใต้ ทกฺขิณ
  • ซ้าย เหนือ อุตฺตร
  • ก่อน ต้น ปุพฺพ

อื่นๆ

 

  • ซ้าย    วาม อุตฺตร
  • ข้างซ้าย วามปสฺสํ
  • ขวา    ทกฺขิณ
  • ข้างขวา ทกฺขิณปสฺสํ
  • ก่อน ต้น ปุพฺพ(ก) ปุริม
  • ต้น ปุริม ปุพฺพ อาทิ(ก)  บทต้น ปุริม/ปุพฺพปทํ
  • หลัง อุตฺตร ปร   บทหลัง อุตฺตร/ปรปทํ
  • ต้น อาทิ
  • ท่ามกลาง มชฺฌํ
  • ที่สุด อนฺโต
  • ยอด ปลาย อคฺคํ
  • เช่นนั้น สทิส
  • เช่นเรา มาทิส
  • เช่นท่าน ตาทิส
  •  

สี

  • สีขาว ปณฺฑโร
  • สีขาวอมเหลือง ปณฺฑโร
  • แดง รตฺต โลหิต
  • แดงอ่อน อรุณ
  • ชมพู ปาฏล
  • เหลือง ปีต(ก)
  • ขาวอมเหลือง ปณฺฑุวณฺณ ปณฺฑร
  • ซีด ปณฺฑร
  • ส้ม ปีตรตฺต
  • เขียว หริต
  • น้ำเงิน นีล
  • น้ำเงินอ่อน ฟ้า มนฺทนีล
  • ขาว โอทาต เสต(ก) ปณฺฑร
  • ดำ กาฬ(ก) กณฺห
  • เทา ธูสร
  • หลากสี กมฺมาส
  • น้ำตาล ปิงฺคล
  • น้ำตาลแก่ กณฺหปีต
  • น้ำตาลอ่อน กปิล

รสชาติ

  • อร่อย หวาน มธุร
  • เปรี้ยว อมฺพิล
  • เค็ม โลณ ลวณ โลณิก
    จืด อโลณิก
  • เผ็ด เผ็ดร้อน กฏุ(ก)
  • ขม ติตฺต(ก)
  • ฝาด กสาว

เสียง

เงื่อนไข สภาพ ฐานะ

  • ง่าย อีส(ก) อีสกฺกร  easy
  • ยาก ลำบาก กิจฺฉ ทุกฺกร  difficult hard

รูปร่าง

  • กลม จกฺกาการ วฏฺฏุล วฏฺฏ  round
  • รูปไข่ อณฺฑาการ  oval
  • ครึ่งวงกลม อทฺธจกฺกการ
  • มุม โกโณ กณฺโณ
  • (มี) สี่มุม/เหลี่ยม, (เป็น) สี่แยก จตุรสฺส() (จตุ-รฺ-อํส)  จตุกฺโกณ จตุกฺกณฺณ  has four sides, rectangle (สี่เหลี่ยมผืนผ้า) square (สี่เหลี่ยมจตุรัส)
  • (มี) สามมุม/เหลี่ยม ติโกณก  triangle
  • (มี) แปดเหลี่ยม อฏฺฐํสิก  octagon
  • มีรูปทรงกลม(เล็กๆ) โคฬการ
  • คม ติขิณ  sharp
  • ไม่คม ทื่อ อติขิณ  blunt
  • หนา ฆน พหล  thick
  • หนานัก อติพหล  very thick
  • บาง ตนุ  thin

โรค

  • โรคตา จกฺขุโรโค
  • โรคหู โสตโรโค
  • โรคจมูก ฆานโรโค
  • โรคลิ้น ชิวฺหาโรโค
  • โรคกาย กายโรโค
  • โรคศีรษะ สีสโรโค
  • โรคที่ใบหู กณฺณโรโค
  • โรคปาก มุขโรโค
  • โรคฟัน ทนฺตโรโค/โอฏฺฐโรโค ม.
  • โรคไอ กาโส
  • โรคหืด สาโส
  • โรคไข้หวัด ปินาโส
  • เป็นไข้หนัก พาฬฺหคิลาน (คุณ.)
  • โรคไข้พิษ ฑโห ฑาโห
  • โรคไข้เซื่องซึม ชโร
  • โรคในท้อง กุจฺฉิโรโค
  • โรคลมสลบ มุจฺฉา
  • โรคบิด โรคลงแดง ปกฺขนฺทิกา
  • โรคจุกเสียด สุลา สูลา ม. ยุ.
  • โรคลงราก วิสูจิกา
  • โรคเรื้อน กุฏฺฐํ
  • โรคฝี คณฺโฑ
  • โรคกลาก กิลาโส
  • โรคมองคร่อ โสโส
  • โรคลมบ้าหมู อปมาโร
  • โรคหิดเปื่อย ททฺทุ
  • โรคหิดด้าน กณฺฑุ
  • โรคคุดทะราด กจฺฉุ
  • หูด รขสา /นขสา ม.
  • โรคละอองบวม วิตจฺฉิกา
  • โรคอาเจียนโลหิต โลหิตํ
  • โรคดี(เดือด) ปิตฺตํ /โลหิตปิตฺตํ ยุ.
  • โรคเบาหวาน มธุเมโห
  • โรคเริม อํสา
  • โรคพุพอง ปิฬกา
  • โรคริดสีดวง ภคนฺทลา

ธรรม

  • นิพพาน นิพฺพานํ โมกฺขธมฺโม อมตํ
  • สมถะ สมโถ
  • วิปัสสนา วิปสฺสนา

อื่นๆ

  • นาม ชื่อ นามํ อวฺหโย อวฺหา
  • ปัญหา ปญฺโห ปญฺหา
  • การแก้ การตอบ คำตอบ วิสฺสชฺนํ วิสฺสชฺนา ปฏิวจนํ
  • เครื่องหมาย; จำนวนเลข, ข้อ องฺโก
  • ฝัน สุปินํ dream
  • ฝันร้าย ทุสฺสุปินํ nightmare
  • อำนาจ วโส
  • ความตาย มรณํ มตํ อนฺตกิริยา อนฺตโก มจฺจุ มจฺจุราชา กาโล กาลกิริยา จวนํ จุติ ชีวิตกฺขโย
  • กิจเกี่ยวกับศพ พิธีศพ สรีรกิจฺจํ เปตกิจฺจํ มตกิจฺจํ

ความคิดเห็น

Restricted HTML

  • Allowed HTML tags: <a href hreflang> <em> <strong> <cite> <blockquote cite> <code> <ul type> <ol start type> <li> <dl> <dt> <dd> <h2 id> <h3 id> <h4 id> <h5 id> <h6 id>
  • Lines and paragraphs break automatically.
  • Web page addresses and email addresses turn into links automatically.