พจนานุกรมธาตุ
ธาตุ | อรรถ | ตัวอย่าง | หมวดธาตุ | |
---|---|---|---|---|
กุส |
เฉทเน ตัด |
ภู (อ) [ธป] |
||
กุส |
ปูรเณ เต็ม, ให้เต็ม |
ภู (อ) [ธป] |
||
กุส |
อกฺโกเส ด่า, ว่า |
อกฺโกสติ อ เบื้องต้นแห่งคำ อกฺโกส ทุกรูป พึงทราบว่าเป็น อา ปุรพบท รัสสะเป็น อะ แล้วสัญโญคทุกแห่งไป. อกฺโกสวตฺถูหิ อกฺโกสนฺติ ปริภาสนฺติ ย่อมด่า ย่อมบริภาษ ด้วยอักโกสวัตถุ ท. ธมฺอ. 7/420. คำ อกฺโกสติ มักใช้คู่กับ ปริภาสติ. อกฺโกสก [อา+กุส] ด. ผู้ด่า. +ปริภาสก. อกฺโกสกปริภาสโก ผู้ด่าว่า ธมฺอ. 6/277. องฺ. 3/279. อกฺโกส, อกฺโกสน ป. นป. ความด่า-ว่า, คำด่า-ว่า. อกฺโกเสหิ อกฺโกสิตวา ธมฺอ. 3/438. อนกฺโกสน [น+อกฺ-] ความไม่ด่า ธมอ. 6/277. อกฺโกสวตฺถุ [อกฺโกส+วตฺถุ] นป. วัตถุ-ที่ตั้ง-ฐาน แห่งการด่า (มี 10 มีการอ้างชาติ นาม โคตร เป็นต้น) ทสหิ อกฺโกสวตฺถูหิ อกฺโกสนฺติ ปริภาสนฺติ ธมฺอ. 2/191. อกฺโกจฺฉิ [อา+กุส+อี อชฺชตฺตนี] ก. ด่าแล้ว. =อกฺโกสิ ธมฺอ. 1/39-40. อกฺกุฏฺฐ (อา+กุส+ต ปัจ.] กค. ด่าแล้ว. อกฺกุฏฺโฐติ ทสหิ อกฺโกสวตฺถูหิ อภิสตฺโต สุตฺตนิปาตอ. 2/209. |
ภู (อ) [ธป] |
|
กุส |
อวฺหาเน เรียก, ร้องเรียก |
โกสติ ปกฺโกสติ ปกฺโกสโก ปกฺโกสิโต ปกโกสนํ |
ภู (อ) [ธป] |
|
กุส |
โรทเน ร้องไห้ |
โกสติ กุส ใน ส. มีเท่านี้. ในกัจจายนะ อย่างข้างบนไม่มี แต่กลับมีแปลกออกไปว่า กุส=อกฺโกเส; เฉทเน; ปูรเณ จ (ด่า; ตัด; เต็ม) ที่แปลว่า ด่า มีใช้ในที่ทั่วไป เป็นรูปเช่น อกฺโกสติ อกฺโกสนํ อกฺโกสิตฺวา ฯเปฯ [ที่มี อ อยู่ต้น คือ อา ปุพฺ - สูจิ]. |
ภู (อ) [ธป] |
|
กุสิ |
ชุตฺยํ สว่าง, รุ่งเรือง |
ภาสายํ วา กุเสติ. กุสยติ ย่อมกล่าว, พูด. |
ภู (อ), จุร (เณ ณย) | |
กุสิ |
ภาสายํ กล่าว, พูด |
กุํเสติ กุํสยติ |
จุร (เณ ณย) [ธป] |
|
กุสุ |
ทิตฺติหรเณ สว่าง, รุ่งเรือง; นำไป |
ธาตุนี้ไม่มีในคัมภีร์ต้นฉบับ. |
ทิว (ย) | |
กุสุ |
หรณ; ทิตฺตีสุ นำไป; ส่องสว่าง, สวยงาม |
กุสฺสยติ |
ทิว (ย) [ธป] |
|
กุห |
วิมฺหาปเน ให้พิศวง, โกง, ล่อลวง |
กุเหติ โลกวิมฺหาปนํ กาโรตีติ กุหโก คนลวงโลก. |
จุร (เณ ณย) | |
กุห |
วิมฺหาปเน 'ให้พิศวง,' โกหก, ลวง, หลอก, โกง |
กุเหติ กุหยติ กุหโก กุหนา |
จุร (เณ ณย) [ธป] |
|
กุฬ |
ภกฺเข กิน |
ภู (อ) | ||
กุฬ |
ฆสเน กิน, เคี้ยวกิน |
กุฬติ |
ภู (อ) [ธป] |
|
กู |
สทฺทเน เปล่งเสียง, ออกเสียง |
กุวเต. |
ภู (อ), กี (นา) | |
กูช |
หิกฺกเน ส่งเสียงร้อง |
กูชติ โกกิโล. |
ภู (อ) | |
กูช |
อวฺยตฺเต สทฺเท ร้อง, ส่งเสียง (สำหรับสัตว์) |
กูชติ-กุชฺชติ ธาตุนี้ ธป. มีโนตว่าเป็น กุช บ้าง. แลให้ดูเทียบ กุชิ ในธาตุปฺ. เล่มก่อน. โมรจฺฉาโปว กูชติ ร้องอยู่ดุจลูกอ่อน แห่งนกยูง หรือ ดุจลูกนกยูง ชาอ. 2/439=4/208 ไทยเป็น กุชฺชติ. วิกูชติ-วิกุชฺชติ [วิ+กูช หรือ กุช] ก. ร้องก้อง, ส่งเสียงก้อง. อุปนทนฺตีติ วิกูชนฺติ เปตวตฺถุอ. 189 (ยังไม่มีฉบับพิมพ์ไทยสอบ) ในที่นี้หงส์ร้อง. วิกูชนฺต [จาก วิกูชติ] กค. ร้องก้องอยู่, ส่งเสียงก้องอยู่. สกุณสงฺฆา มธุรสฺสเรน วิกูชนฺตา ฝูงสกุณร้องก้องอยู่ด้วยเสียงไพเราะ ชาอ. 1/83. วิกูชมาน-วิกุชฺชมาน [จาก วิกูชติ-วิกุชฺชติ] กค. ร้องก้องอยู่, ส่งสำเนียงก้องอยู่, นวกา ภิกฺขู … มุฏฺฐสฺสตี อสมฺปชานมานา นคฺคา วิกุชฺชมานา กากจฺฉมานา เสยฺยํ กปฺเปนฺติ เหล่านวกภิกษุ…เผลอสติ ไม่รู้สึก นอนเปลือยกาย ส่งเสียงพึมพำ -ละเมอแลกรนอยู่ วิน. 2/171 (วิกูช-กุชฺช นี้ตามธรรมดา ใช้สำหรับสัตว์ร้อง ในที่นี้เห็นจะเป็นอาการคล้ายสัตว์ จึงใช้ศัพท์นี้) วิกุชฺชมาน=วิปฺปลปมาน ละเมอ-เพ้อ, กากจฺฉมาน กรน =นาสาย กากสทฺทํ วิย นิรตฺถสทฺทํ มุญฺจมาน วินอ. 2/293. อภิกูชิต-อภิกุชฺชิต [อภิ+กูช หรือ กุช] กค. ส่งสำเนียงก้องแล้ว (สำหรับ นก), เห่าก้องแล้ว (สำหรับ สุนัข). ปิงฺคเลนาภิกุชฺชิตํ (ในที่นี้ หมายเอาสุนัขเห่าก้อง) ชาอ. 8/59 ยุโรป เป็น -ภินิกูชิตํ. อุปกูชิต-อุปกุชฺชิต [อุป+กูช หรือ กุช] กค. ร้องระเบงเซ็งแซ่แล้ว. อิมา ตา โปกขรณิโย รมฺมา จากวากูปกุชฺชิตา สระโปกขรณีเหล่านี้นั้น เป็นที่รื่นรมย์ อันเหล่านกจากพรากร้องระเบงเซ็งแซ่แล้ว ชาอ. 6/360. |
ภู (อ) [ธป] |
|
กูฏ |
ทาหปฺปสาทมนฺตนทานาปวาเท เร่าร้อน; ไม่เป็นที่เลื่อมใส; ปรึกษา; ให้; โกง |
กูเฏติ, กุฏยติ. |
จุร (เณ ณย) | |
กูฏ |
อปฺปสาทเน 'ไม่ทำให้เลื่อมใส,' เลว, โกง, หลอกลวง |
กูเฏติ กูฏยติ กูโฏ อา. กูฏตาปโส ดาบสโกง. กูฏา คาวี แม่โคโกง. กูฏํ รชตํ เงินปลอม เงินเก๊, เงินแดง - ส. |
จุร (เณ ณย) [ธป] |
|
กูฑ |
ฆนีภาเว จ ภกฺขเณ เป็นก้อน; กิน |
กูฑติ ขีรํ อคฺคิโยคา. |
ภู (อ) | |
กูณ |
สงฺโกเจ เบี้ยวบูด; หงิกงอ |
กูเณติ. |
จุร (เณ ณย) |