ศัพท์ พร้อมธาตุ และคำแปล
ต ปัจจัย ในชีทนี้ ที่แสดงธาตุ-คำแปล ด้วยตัวเอียง เป็น สกัมมธาตุ กัมมวาจก แปลว่า (อันเขา) ...
เช่น ขโต (อันเขา) ขุดแล้ว
กิริยา ต ปัจจัย ที่รูปเดียวแปลได้ทั้งกัตตุวาจก/กัมมวาจก คือ
การท่อง: (ในหน้านี้ ท่องเฉพาะศัพท์กิริยากิตก์ ส่วนศัพท์นามกิตก์ ท่องรูปวิเคราะห์ในชีท "วิเคราะห์นามกิตก์"
กิตปัจจัย
อนฺต ปัจจัย: สุณนฺโต สุณนฺตี สุณนฺตํ ฟังอยู่, กโรนฺโต ทำอยู่ กเถนฺโต กล่าวอยู่
ตวนฺตุ ปัจจัย: สุตวา ฟังแล้ว ภุตฺตวา กินแล้ว วุสิตวา อยู่แล้ว
ตาวี ปัจจัย: สุตาวี สุตาวินี สุตาวิ ฟังแล้ว, ภุตฺตาวี กินแล้ว วุสิตาวี อยู่แล้ว
กิจจปัจจัย
อนีย ปัจจัย: กรณียํ (อันเขา) พึงทำ วจนียํ (อันเขา) พึงกล่าว โภชนียํ (อันเขา) พึงกิน
ตพฺพ ปัจจัย: กตฺตพฺพํ (อันเขา) พึงทำ วตฺตพฺพํ (อันเขา) พึงกล่าว ภุญฺชิตพฺพํ (อันเขา) พึงกิน
การท่องวิภัตติอาขยาต:
คำในวงเล็บ คือ วิภัตติฝ่ายอัตตโนบท – ฝั่งขวามือ จะไม่ท่องก็ได้ หรือจะท่องภายหลังก็ได้ เพราะมีใช้น้อยมาก
แต่ให้ท่องวิภัตติส่วนที่ใช้แทนกัน ซึ่งแสดงไว้ต่อจากนี้
วิภัตติอาขยาต
วตฺตมานา บอกปัจจุบันกาล แปลว่า อยู่, ย่อม, จะ
ติ อนฺติ – สิ ถ – มิ ม (เต อนฺเต – เส วฺเห – เอ มฺเห)
ปญฺจมี บอกความบังคับ, ความหวัง, ความอ้อนวอน แปลว่า จง, เถิด, ขอจง
ตุ อนฺตุ – หิ ถ – มิ ม (ตํ อนฺตํ – สฺสุ วฺโห – เอ อามฺหเส)
สตฺตมี บอกความยอมตาม, ความกำหนด, ความรำพึง แปลว่า ควร, พึง, พึง
เอยฺย เอยฺยุํ – เอยฺยาสิ เอยฺยาถ – เอยฺยามิ เอยฺยาม (เอถ เอรํ – เอโถ เอยฺยวฺโห – เอยฺยํ เอยฺยามฺเห)
ปโรกฺขา อดีตกาล แปลว่า แล้ว
อ อุ – เอ ตฺถ – อํ มฺห (ตฺถ เร – ตฺโถ วฺโห – อึ มฺเห)
หิยตฺตนี บอกอดีตกาล แปลว่า ‘แล้ว’ ถ้ามี อ นำหน้า แปลว่า ‘ได้…แล้ว’
อา โอ – อํ อู – ตฺถ มฺห (ตฺถ ตฺถุํ – เส วฺหํ – อึ มฺหเส)
อชฺชตฺตนี บอกอดีตกาล แปลว่า ‘แล้ว’ ถ้ามี อ นำหน้า แปลว่า ‘ได้…แล้ว’
อี อุํ – โอ ตฺถ – อึ มฺหา (อา อู – เส วฺหํ – อํ มฺเห)
ภวิสฺสนฺติ บอกอนาคตกาล แปลว่า จัก
สฺสติ สฺสนฺติ – สฺสสิ สฺสถ – สฺสามิ สฺสาม (สฺสเต สฺสนฺเต – สสฺเส สฺสวฺเห – สฺสํ สฺสามฺเห)
กาลาติปตฺติ บอกอนาคตกาลของอดีต แปลว่า ‘จัก…แล้ว ’ ถ้า มี อ นำหน้า แปลว่า จักได้…แล้ว’
สฺสา สฺสํสุ – สฺเส สฺสถ – สฺสํ สฺสามฺหา (สฺสถ สฺสึสุ – สสฺเส สสฺวฺเห – สฺสํ สฺสามฺหเส)
ไทย "แท้" อยู่ที่ไหน?
สารบัญ
การท่อง:
ปฐมา ที่ 1 สิ โย
ทุติยา ที่ 2 อํ โย
ตติยา ที่ 3 นา หิ
จตุตฺถี ที่ 4 ส นํ
ปญฺจมี ที่ 5 สฺมา หิ
ฉฏฺฐี ที่ 6 ส นํ
สตฺตมี ที่ 7 สฺมึ สุ
(อาลปนะ) (สิ โย)
ปฐมา ที่ 1 อันว่า
ทุติยา ที่ 2 ซึ่ง, สู่, ยัง, สิ้น, ตลอด, กะ, เฉพาะ
ตติยา ที่ 3 ด้วย, โดย, อัน, ตาม, เพราะ, มี, ด้วยทั้ง
จตุตฺถี ที่ 4 แก่, เพื่อ, ต่อ
ปญฺจมี ที่ 5 แต่, จาก, กว่า, เหตุ, เพราะ
ฉฏฺฐี ที่ 6 แห่ง, ของ, เมื่อ
สตฺตมี ที่ 7 ใน, ใกล้, ที่, ณ, บน, ครั้นเมื่อ, ในเพราะ
อาลปนะ แน่ะ, ดูก่อน, ข้าแต่
สำหรับผู้ศึกษาบาลี ตั้งแต่ชั้น ปย.1 - ปธ.6
อรรถกถาธรรมบท บาลี ภาค 1-8
อรรถกถาธรรมบท บาลี ภาค 1-8 แบบแยก -อิติ ศัพท์
อรรถกถาธรรมบท แปลโดยอรรถ (ไทย) ภาค 1-8
อรรถกถาธรรมบท แปลโดยอรรถ และบาลี (ไทย-บาลี) ภาค 1-8
เพิ่ม: การจัดหมวดหมู่ศัพท์ตัวอย่าง เพื่อจดจำง่ายขึ้น และ การระบุศัพท์ที่เป็นลิงค์โดยสมมุติ
1. ใช้นิบาตบอกความถาม (ปุจฉนัตถนิบาต) วางไว้ต้นประโยค หรือตามที่เหมาะสม
ศัพท์ | คำแปล | เทียบอังกฤษ | ตัวอย่างประโยค |
---|---|---|---|
กึ |
หรือ, ทำไม (=เพราะเหตุไร), อย่างไร |
Y/N Question, Why, How |
เนื่องจาก "กึ" ศัพท์ นิบาต แปลได้หลายอย่าง |
กินฺนุ | หรือหนอ, เพราะเหตุไร |
กินฺนุ ตาต ตฺวํ มม สนฺติกํ อาคจฺฉนฺโต อุทกํ ลงฺฆิตฺวา ... ? กินฺนุ ตฺวํ ติสฺส ทุกฺขี ทุมฺมโน อสฺสุมุโข รุทมาโน อาคโตสิ? กินฺนุ กมฺมํ กริตฺวาน ปตฺโตสิ ทุกฺขมีทิสํ? |
|
กึสุ |
แลหรือ, อย่างไร, อย่างไรเล่า อะไรหนอ อะไรสิ |
กึสุ ฆตฺวา สุขํ เสติ? กึสุ ฆตฺวา น โสจติ? กึสุ ชีรติ กึ น ชีรติ? กึสุ อุปฺปโถติ วุจฺจติ? |
|
กจฺจิ |
หรือ, แลหรือ, บ้างหรือ, บ้างไหม |
กจฺจิ เต วกฺกลิ ขมนียํ? กจฺจิ ยาปนียํ? กจฺจิ ปน เต ภิกฺขุ อตฺตา สีลโต น อุปวทติ? |
|
อปิ | บ้างหรือ, บ้างไหม |
อปิ นุ โข อยฺยานํ อิมสฺมึ ฐาเน วสนฺตานํ โกจิ อุปทฺทโว อตฺถิ? อปิ โว ภนฺเต กิญฺจิ ลทฺธํ? อปิ ภนฺเต กิญฺจิ ลทฺธํ? อปิ นุ เม ปุตฺตสฺส เภสชฺชํ ชานาถ? อปิ สมณ ปิณฺฑํ อลภิตฺถ? อปิ ภนฺเต ปิณฺฑํ อลภมานา ชิฆจฺฉาทุกฺเขน ปีฬิตตฺถ? อปิ นุโข โว ภิกฺขเว ปพฺพชิตกิจฺจํ มตฺถกํ ปตฺตํ? อปิ นุ เม กายทฺวาราทีสุ ตุมฺเหหิ กิญฺจิ อสารุปฺปํ ทิฏฺฐปุพฺพํ? อปิ นุ ตสฺส ปวตฺตึ ชานาถ? |
|
นุ | หรือ, หรือหนอ |
สตฺถารา กตํ ญตฺวา นุ โข กตํ อุทาหุ อชานิตฺวา? อตฺถิ นุ โข มยฺหํ เอตฺถ คตปฺปจฺจเยน อตฺโถ? |
|
นนุ |
มิใช่หรือ (คาดหวังคำตอบเชิงบวกว่า "ใช่") |
นนุ สพฺเพสํ เอกํสิกํ มรณํ? นนุ ตฺวํ มยา วุตฺโต? |
|
กถํ | อย่างไร, ไฉน | How |
โส วิหตตฺถาโม กถํ ธมฺมํ จริสฺสติ? ตุมฺเห จ อนฺธา กถํ อิธ วสิสฺสถ? |
อุทาหุ | หรือว่า (มีตัวเลือกให้ตอบ) | or |
กึ อกฺขี โอโลเกสฺสสิ อุทาหุ พุทฺธสาสนํ? ญตฺวา นุ โข กตํ อุทาหุ อชานิตฺวา? ปุตฺตํ นุ โข วิชาตา อุทาหุ ธีตรํ? |
อาทู | หรือว่า (มีตัวเลือกให้ตอบ) | or |
เทวตา นุสิ คนฺธพฺโพ อาทู สกฺโก ปุรินฺทโท? ติฏฺฐนฺเต โน มหาราเช อาทู เทเว ทิวงฺคเต? (พบ 15 แห่งในพระไตรปิฎก ทั้งหมดอยู่ในคาถา) |
ชื่อประโยค | ตั้งแต่ | ถึง | เรื่อง หน้า | |
---|---|---|---|---|
1. | ไหว้ครู | ปณามคาถา | ปณามคาถา หน้า 1-2 | |
2. | อิตฺถีสทฺโท | สามเณโร เถรํ ยฏฺฐิโกฏิยา ฯเปฯ | คจฺฉาม ภนฺเตติ. | จกฺขุปาลตฺเถรวตฺถุ หน้า 14-17 |
3. | กงเกวียน กำเกวียน | ตตฺถ มโนติ กามาวจรกุสลาทิเภทํ ฯเปฯ | จกฺขุปาลตฺเถรวตฺถุ | จกฺขุปาลตฺเถรวตฺถุ หน้า 20-22 |
4. | อิตินาคพาธ | โสวณฺณมโย ปภสฺสโร ฯเปฯ | สหพฺยตํ ปตฺโตติ. | มฏฺฐกุณฺฑลิวตฺถุ หน้า 26-29 |
5. | กาโกโลกนัย/โลกมืด | นาครา อรุเณ อนุคฺคจฺฉนฺเต ฯเปฯ | ติสฺสตฺเถรวตฺถุ. | ติสฺสตฺเถรวตฺถุ หน้า 39-42 |
6. | ยักษิณีส่งน้ำ | ตทา สา ยกฺขินี ฯเปฯ | อคฺคยาคุภตฺเตหิ ปฏิชคฺคิ. | กาลียกฺขินิยา อุปฺปตฺติวตฺถุ หน้า 45-48 |
7. | ยกวัตร | อเถโก ภิกฺขุ ตถาคตํ อุปสงฺกมิตฺวา ฯเปฯ | สมคฺเค กาตุํ อสกฺขิ | โกสมฺพิกวตฺถุ หน้า 50-52 |
8. | ช้างลงท่า | โส ตาย อากิณฺณวิหารตาย ฯเปฯ | สพฺพวตฺตานิ กโรติ. | โกสมฺพิกวตฺถุ หน้า 52-54 |
9. | ช้างร้องไห้ | โส หิ สตฺถารํ นิวตฺเตตุํ ฯเปฯ | อยเมตฺถ อตฺโถติ. | โกสมฺพิกวตฺถุ หน้า 58-60 |
10. | ปูอาสนะ | อเถกา กุลธีตา ฯเปฯ | อุฏฺฐาย อคมํสุ. | จุลฺลกาลมหากาลวตฺถุ หน้า 64-66 |
11. | เทวทัตเล็ก | เอกสฺมึ หิ สมเย ฯเปฯ | เทวทตฺตวตฺถุ. | เทวทตฺตวตฺถุ หน้า 70-75 |
12. | พุทธดำเนิน | สตฺถา หิ ปวตฺติตปวรธมฺมจกฺโก ฯเปฯ | สิกฺขํ ปจฺจกฺขาย หีนายาวตฺติสฺสามีติ. | นนฺทตฺเถรวตฺถุ หน้า 105-109 |
13. | นันทะกระสัน | อถโข ภควา อายสฺมนฺตํ ฯเปฯ | สุขทุกเข น เวธตีติ. | นนฺทตฺเถรวตฺถุ หน้า 109-112 |
14. | เทวทัตต์ตัดงา | เทวทตฺโตปิ โข นว มาเส ฯเปฯ | จุลฺลธมฺมปาลชาตกญฺจ กเถสิ. | เทวทตฺตวตฺถุ หน้า 136-139 |
15. | ไก่ปรบปีก/โคโป | สตฺถา สาธุ สาธูติ ฯเปฯ | กูฏํ คณฺหีติ. | เทวสหายกภิกฺขุวตฺถุ หน้า 146-148 |
ดู ผังวาจก (5 วาจก 9 ประโยค) ประกอบ
ธรรมภาษิต คือ ภาษิตธรรมะ
พุทธสาสนสุภาษิต คือ สุภาษิตในพระพุทธศาสนา
พุทธภาษิต คือ ภาษิต คำพูดของพระพุทธเจ้า พระพุทธพจน์ พระพุทธวจนะ พระพุทธดำรัส
สติญฺจ ขฺวาหํ ภิกฺขเว สพฺพตฺถิกํ วทามิ. (สตึ สพฺพตฺถิกํ วทามิ.) ภิกษุทั้งหลาย เรากล่าวสติแลว่า มีประโยชน์ในที่ทั้งปวง. (สํ. ม. 19/572/158) |
พระพุทธพจน์ |
สติ สพฺพตฺถ ปตฺถิยา. สติจำปรารถนาในที่ทั้งปวง. โลโกปตฺถมฺภิกา เมตฺตา. เมตตาเป็นเครื่องค้ำจุนโลก. มตฺตญฺญุตา สทา สาธุ. ความรู้จักประมาณ ยังประโยชน์ให้สำเร็จทุกเมื่อ. นิสฺสมฺม กรณํ เสยฺโย. ใคร่ครวญก่อนแล้วจึงทำ ดีกว่า. |
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส (ว.ว.) |
นิมิตฺตํ สาธุรูปานํ กตญฺญูกตเวทิตา. ความกตัญญูกตเวที เป็นเครื่องหมายแห่งคนดี. รกฺเขยฺย อตฺตโน สาธุํ ลวณํ โลณตํ ยถา. พึงรักษาความดีของตนไว้ ดังเกลือรักษาความเค็ม. |
สมเด็จพระสังฆราช (สา) (ส.ส.) |
ขนฺติ ธีรสฺสลงฺกาโร. ความอดทน เป็นเครื่องประดับของนักปราชญ์. |
สวดมนต์ฉบับหลวง (ส.ม.) |