หมายเหตุหน้า 1
ในแบบไวยากรณ์ เดิม | ในชีทนี้ |
---|---|
นิบาต ใช้ลงในระหว่างนามศัพท์บ้าง กิริยาศัพท์บ้าง เพื่อบอก อาลปนะ (ภนฺเต), กาล (หิยฺโย), ที่ (อนฺโต), ... การท่อง: นิบาต ใช้ลงในระหว่างนามศัพท์บ้าง กิริยาศัพท์บ้าง เพื่อบอก อาลปนะ, กาล, ที่ ... |
|
นิบาตบอกกาล | |
หิยฺโย วันวาน |
หิยฺโย หีโย ในวันวาน, เมื่อวาน
การท่อง: ฮีโย ในวันวาน เมื่อวาน (ฮีโย ออกเสียงครั้งเดียวก็พอ) |
สุเว ในวัน ... เสฺว วันพรุ่ง |
เสฺว, สุเว ในวันพรุ่ง
|
นิบาตบอกที่ | |
ติโร ภายนอก พหิ ภายนอก พหิทฺธา ภายนอก พาหิรา ภายนอก |
ติโร, พหิ, พหิทฺธา, พาหิรา-รํ ภายนอก การท่อง: ติโร พหิ พหิทฺธา พาหิรา พาหิรํ ภายนอก (พหิรา ใน ธอ ไม่พบ, ใน ไตร. พบ 1 แห่ง) |
อนฺตรา ระหว่าง |
อนฺตรา-เร ระหว่าง การท่อง: อนฺตรา อนฺตเร ระหว่าง |
สารบัญ
สำหรับผู้ศึกษาบาลี ตั้งแต่ชั้น ปย.1 - ปธ.6
อรรถกถาธรรมบท บาลี ภาค 1-8
อรรถกถาธรรมบท บาลี ภาค 1-8 แบบแยก -อิติ ศัพท์
อรรถกถาธรรมบท แปลโดยอรรถ (ไทย) ภาค 1-8
อรรถกถาธรรมบท แปลโดยอรรถ และบาลี (ไทย-บาลี) ภาค 1-8
(3 พ.ค.63) เพิ่ม: การจัดหมวดหมู่ศัพท์ตัวอย่าง เพื่อจดจำง่ายขึ้น และ การระบุศัพท์ที่เป็นลิงค์โดยสมมุติ
การท่อง:
ปฐมา ที่ 1 สิ โย
ทุติยา ที่ 2 อํ โย
ตติยา ที่ 3 นา หิ
จตุตฺถี ที่ 4 ส นํ
ปญฺจมี ที่ 5 สฺมา หิ
ฉฏฺฐี ที่ 6 ส นํ
สตฺตมี ที่ 7 สฺมึ สุ
(อาลปนะ) (สิ โย)
ปฐมา ที่ 1 อันว่า
ทุติยา ที่ 2 ซึ่ง, สู่, ยัง, สิ้น, ตลอด, กะ, เฉพาะ
ตติยา ที่ 3 ด้วย, โดย, อัน, ตาม, เพราะ, มี, ด้วยทั้ง
จตุตฺถี ที่ 4 แก่, เพื่อ, ต่อ
ปญฺจมี ที่ 5 แต่, จาก, กว่า, เหตุ, เพราะ
ฉฏฺฐี ที่ 6 แห่ง, ของ, เมื่อ
สตฺตมี ที่ 7 ใน, ใกล้, ที่, ณ, บน, ครั้นเมื่อ, ในเพราะ
อาลปนะ แน่ะ, ดูก่อน, ข้าแต่
การท่อง:
ปัจจัยกิริยากิตก์ 10 ตัว เป็นเครื่องหมายวาจก ดังนี้
กิตปัจจัย: อนฺต ตวนฺตุ ตาวี เป็นเครื่องหมาย กัตตุวาจก และเหตุกัตตุวาจก
กิจจปัจจัย: อนีย ตพฺพ เป็นเครื่องหมาย กัมมวาจก เหตุกัมมวาจก และภาววาจก
กิตกิจจปัจจัย: มาน ต ตูน-ตฺวา-ตฺวาน เป็นเครื่องหมายวาจกทั้ง 5
ปัจจัยกิริยากิตก์ เป็นเครื่องหมายกาล ดังนี้
อนฺต มาน บอกปัจจุบันกาล แปลว่า อยู่, เมื่อ
ตวนฺตุ ตาวี ต ตูน-ตฺวา-ตฺวาน บอกอดีตกาล แปลว่า แล้ว; ครั้น...แล้ว
อนีย ตพฺพ บอกความจำเป็น แปลว่า พึง
กาลในกิริยากิตก์
ปัจจุบันกาล (ใช้ อนฺต มาน ปัจจัย)
1. ปัจจุบันแท้ แปลว่า …อยู่
2. ปัจจุบันใกล้อนาคต แปลว่า เมื่อ…
อดีตกาล (ใช้ ตวนฺตุ ตาวี ต ตูน-ตฺวา-ตฺวาน ปัจจัย)
1. ล่วงแล้ว แปลว่า …แล้ว
2. ล่วงแล้วเสร็จ แปลว่า ครั้น…แล้ว
ความจำเป็น (ใช้ อนีย ตพฺพ ปัจจัย) แปลว่า พึง…
ดาวน์โหลด (13 เม.ย.63) [เพิ่ม big/little brother/sister]
1. ใช้นิบาตบอกความถาม (ปุจฉนัตถนิบาต) วางไว้ต้นประโยค หรือตามที่เหมาะสม
ศัพท์ | คำแปล | เทียบอังกฤษ | ตัวอย่างประโยค |
---|---|---|---|
กึ |
หรือ, ทำไม (=เพราะเหตุไร), อย่างไร |
Y/N Question, Why, How |
เนื่องจาก "กึ" ศัพท์ นิบาต แปลได้หลายอย่าง |
กินฺนุ | หรือหนอ, เพราะเหตุไร |
กินฺนุ ตาต ตฺวํ มม สนฺติกํ อาคจฺฉนฺโต อุทกํ ลงฺฆิตฺวา ... ? กินฺนุ ตฺวํ ติสฺส ทุกฺขี ทุมฺมโน อสฺสุมุโข รุทมาโน อาคโตสิ? กินฺนุ กมฺมํ กริตฺวาน ปตฺโตสิ ทุกฺขมีทิสํ? |
|
กึสุ |
แลหรือ, อย่างไร, อย่างไรเล่า อะไรหนอ อะไรสิ |
กึสุ ฆตฺวา สุขํ เสติ? กึสุ ฆตฺวา น โสจติ? กึสุ ชีรติ กึ น ชีรติ? กึสุ อุปฺปโถติ วุจฺจติ? |
|
กจฺจิ |
หรือ, แลหรือ, บ้างหรือ, บ้างไหม |
กจฺจิ เต วกฺกลิ ขมนียํ? กจฺจิ ยาปนียํ? กจฺจิ ปน เต ภิกฺขุ อตฺตา สีลโต น อุปวทติ? |
|
อปิ | บ้างหรือ, บ้างไหม |
อปิ นุ โข อยฺยานํ อิมสฺมึ ฐาเน วสนฺตานํ โกจิ อุปทฺทโว อตฺถิ? อปิ โว ภนฺเต กิญฺจิ ลทฺธํ? อปิ ภนฺเต กิญฺจิ ลทฺธํ? อปิ นุ เม ปุตฺตสฺส เภสชฺชํ ชานาถ? อปิ สมณ ปิณฺฑํ อลภิตฺถ? อปิ ภนฺเต ปิณฺฑํ อลภมานา ชิฆจฺฉาทุกฺเขน ปีฬิตตฺถ? อปิ นุโข โว ภิกฺขเว ปพฺพชิตกิจฺจํ มตฺถกํ ปตฺตํ? อปิ นุ เม กายทฺวาราทีสุ ตุมฺเหหิ กิญฺจิ อสารุปฺปํ ทิฏฺฐปุพฺพํ? อปิ นุ ตสฺส ปวตฺตึ ชานาถ? |
|
นุ | หรือ, หรือหนอ |
สตฺถารา กตํ ญตฺวา นุ โข กตํ อุทาหุ อชานิตฺวา? อตฺถิ นุ โข มยฺหํ เอตฺถ คตปฺปจฺจเยน อตฺโถ? |
|
นนุ |
มิใช่หรือ (คาดหวังคำตอบเชิงบวกว่า "ใช่") |
นนุ สพฺเพสํ เอกํสิกํ มรณํ? นนุ ตฺวํ มยา วุตฺโต? |
|
กถํ | อย่างไร, ไฉน | How |
โส วิหตตฺถาโม กถํ ธมฺมํ จริสฺสติ? ตุมฺเห จ อนฺธา กถํ อิธ วสิสฺสถ? |
อุทาหุ | หรือว่า (มีตัวเลือกให้ตอบ) | or |
กึ อกฺขี โอโลเกสฺสสิ อุทาหุ พุทฺธสาสนํ? ญตฺวา นุ โข กตํ อุทาหุ อชานิตฺวา? ปุตฺตํ นุ โข วิชาตา อุทาหุ ธีตรํ? |
อาทู | หรือว่า (มีตัวเลือกให้ตอบ) | or |
เทวตา นุสิ คนฺธพฺโพ อาทู สกฺโก ปุรินฺทโท? ติฏฺฐนฺเต โน มหาราเช อาทู เทเว ทิวงฺคเต? (พบ 15 แห่งในพระไตรปิฎก ทั้งหมดอยู่ในคาถา) |
ชื่อประโยค | ตั้งแต่ | ถึง | เรื่อง หน้า | |
---|---|---|---|---|
1. | ไหว้ครู | ปณามคาถา | ปณามคาถา หน้า 1-2 | |
2. | อิตฺถีสทฺโท | สามเณโร เถรํ ยฏฺฐิโกฏิยา ฯเปฯ | คจฺฉาม ภนฺเตติ. | จกฺขุปาลตฺเถรวตฺถุ หน้า 14-17 |
3. | กงเกวียน กำเกวียน | ตตฺถ มโนติ กามาวจรกุสลาทิเภทํ ฯเปฯ | จกฺขุปาลตฺเถรวตฺถุ | จกฺขุปาลตฺเถรวตฺถุ หน้า 20-22 |
4. | อิตินาคพาธ | โสวณฺณมโย ปภสฺสโร ฯเปฯ | สหพฺยตํ ปตฺโตติ. | มฏฺฐกุณฺฑลิวตฺถุ หน้า 26-29 |
5. | กาโกโลกนัย/โลกมืด | นาครา อรุเณ อนุคฺคจฺฉนฺเต ฯเปฯ | ติสฺสตฺเถรวตฺถุ. | ติสฺสตฺเถรวตฺถุ หน้า 39-42 |
6. | ยักษิณีส่งน้ำ | ตทา สา ยกฺขินี ฯเปฯ | อคฺคยาคุภตฺเตหิ ปฏิชคฺคิ. | กาลียกฺขินิยา อุปฺปตฺติวตฺถุ หน้า 45-48 |
7. | ยกวัตร | อเถโก ภิกฺขุ ตถาคตํ อุปสงฺกมิตฺวา ฯเปฯ | สมคฺเค กาตุํ อสกฺขิ | โกสมฺพิกวตฺถุ หน้า 50-52 |
8. | ช้างลงท่า | โส ตาย อากิณฺณวิหารตาย ฯเปฯ | สพฺพวตฺตานิ กโรติ. | โกสมฺพิกวตฺถุ หน้า 52-54 |
9. | ช้างร้องไห้ | โส หิ สตฺถารํ นิวตฺเตตุํ ฯเปฯ | อยเมตฺถ อตฺโถติ. | โกสมฺพิกวตฺถุ หน้า 58-60 |
10. | ปูอาสนะ | อเถกา กุลธีตา ฯเปฯ | อุฏฺฐาย อคมํสุ. | จุลฺลกาลมหากาลวตฺถุ หน้า 64-66 |
11. | เทวทัตเล็ก | เอกสฺมึ หิ สมเย ฯเปฯ | เทวทตฺตวตฺถุ. | เทวทตฺตวตฺถุ หน้า 70-75 |
12. | พุทธดำเนิน | สตฺถา หิ ปวตฺติตปวรธมฺมจกฺโก ฯเปฯ | สิกฺขํ ปจฺจกฺขาย หีนายาวตฺติสฺสามีติ. | นนฺทตฺเถรวตฺถุ หน้า 105-109 |
13. | นันทะกระสัน | อถโข ภควา อายสฺมนฺตํ ฯเปฯ | สุขทุกเข น เวธตีติ. | นนฺทตฺเถรวตฺถุ หน้า 109-112 |
14. | เทวทัตต์ตัดงา | เทวทตฺโตปิ โข นว มาเส ฯเปฯ | จุลฺลธมฺมปาลชาตกญฺจ กเถสิ. | เทวทตฺตวตฺถุ หน้า 136-139 |
15. | ไก่ปรบปีก/โคโป | สตฺถา สาธุ สาธูติ ฯเปฯ | กูฏํ คณฺหีติ. | เทวสหายกภิกฺขุวตฺถุ หน้า 146-148 |
ดู ผังวาจก (5 วาจก 9 ประโยค) ประกอบ