อุสูย

อรรถของธาตุ
โทสาวิกรเณ

'แสดงโทษะ,' ฤษยา, ชัง, ขึ้งเคียด

ตัวอย่าง
  • อุสูยติ อุสุยฺยติ
    นิสฺสํสยํ โข โส ภควา อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ ภวิสฺสติ ยถายิเม ติตฺถิยา อุสูยนฺติ พระผู้มีพระภาคนั้น จักเป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ไม่ต้องสงสัยแน่ ฉะนั้นดิตถีย์ ท. จึงฤษยา วิน. 5/105 (ฉบับยุโรปเป็น อุสุยฺยนฺติ).
  • อุสูยก, อุสุยฺยก ค. ผู้ฤษยา, ผู้ขึ้งเคียด. 
    ขุทฺทญฺจ พาลํ อุปเสวมาโน อนาคตตฺถญฺจ อุสุยฺยกญฺจ. ขุ. 1/314.
    วุฑฺฒาปจายี อนุสุยฺยโก สิยา พึงเป็นผู้ยำเกรงต่อวุฑฒะชน แลไม่พึงเป็นคนฤษยาเขา ข. 1/315.
  • อุสูยา, อุสุยฺยา อิ. ความฤษยา, ความขึ้งเคียด. 
    มายา อุสุยฺยา ภสฺสสมุสฺสโย จ ขุ. 1/304. (ต้นฉบับเป็น อุสฺสุยา เข้าใจว่า อักษรจะวิบัติ).
  • อุสูยนา, อุสุยฺยนา อิ. ความฤษยา ฯลฯ.  
    อุสูยา อุสูยนา อุสูยิตตฺตํ ธมฺมสงฺคณิ ฉบับพิมพ์ครั้ง 2 ข้อ 727.
  • อุสูยิตตฺต, อุสุยฺยิตตฺต นป. ภน. ความเป็นแห่งอันฤษยา ฯลฯ. (ดูที่มาข้างบน).
  • อพฺภุสูยก [อภิ+อุสูย+ก] ค. ผู้ชังยิ่งนัก, ผู้เกลียดชัง. 
    ชายเต พธิโร มูฬฺโห หิตวากฺยพฺภุสูยโก คนเขลาผู้เกลียดชังถ้อยคำอันกอบด้วยประโยชน์ ย่อมเกิดเป็นคนหนวก (ปญฺจคติทีปนี มนุสฺสกณฺ. J.P.T.S. 1884 ยังไม่พบฉบับไทย).
หมวดธาตุ
ภู (อ)
ที่มา
ธป

Comments

Restricted HTML

  • Allowed HTML tags: <a href hreflang> <em> <strong> <cite> <blockquote cite> <code> <ul type> <ol start type> <li> <dl> <dt> <dd> <h2 id> <h3 id> <h4 id> <h5 id> <h6 id>
  • Lines and paragraphs break automatically.
  • Web page addresses and email addresses turn into links automatically.