หมายเหตุ พื้นสีเทา คือ คำที่ใช้เป็นคำถาม
หมายเหตุหน้า 1
ในแบบไวยากรณ์ เดิม | ในชีทนี้ |
---|---|
นิบาต ใช้ลงในระหว่างนามศัพท์บ้าง กิริยาศัพท์บ้าง เพื่อบอก อาลปนะ (ภนฺเต), กาล (หิยฺโย), ที่ (อนฺโต), ... การท่อง: นิบาต ใช้ลงในระหว่างนามศัพท์บ้าง กิริยาศัพท์บ้าง เพื่อบอก อาลปนะ, กาล, ที่ ... |
|
นิบาตบอกกาล | |
หิยฺโย วันวาน |
หิยฺโย หีโย ในวันวาน, เมื่อวาน
การท่อง: ฮีโย ในวันวาน เมื่อวาน |
สุเว ในวัน ... เสฺว วันพรุ่ง |
เสฺว, สุเว ในวันพรุ่ง
|
นิบาตบอกที่ | |
ติโร ภายนอก พหิ ภายนอก พหิทฺธา ภายนอก พาหิรา ภายนอก |
ติโร, พหิ, พหิทฺธา, พาหิรา-รํ ภายนอก การท่อง: ติโร พหิ พหิทฺธา พาหิรา พาหิรํ ภายนอก (พหิรา ใน ธอ ไม่พบ, ใน ไตร. พบ 1 แห่ง) |
อนฺตรา ระหว่าง |
อนฺตรา-เร ระหว่าง การท่อง: อนฺตรา อนฺตเร ระหว่าง |
ในแบบไวยากรณ์ เดิม | ในชีทนี้ |
---|---|
นิบาตบอกปริจเฉท | |
... สมนฺตา รอบคอบ |
การท่อง: ในหนังสืออรรถกถาธรรมบทแปลโดยพยัญชนะที่ใช้กันอยู่ |
นิบาตบอกอุปมาอุปไมย | |
ยถา ฉันใด เสยฺยถา แม้ฉันใด |
ยถา, เสยฺยถาปิ (แม้)ฉันใด
การท่อง: ยถา เสยฺยถาปิ แม้ฉันใด ... |
วิย ราวกะ อิว เพียงดัง |
วิย ราวกะ อิว; ยถา (ในคาถา) เพียงดัง การท่อง: วิย ราวกะ อิว ยถา เพียงดัง (ยถา เช่น จนฺโท ปณฺณรโส ยถา) |
นิบาตบอกประการ | |
เอวํ ด้วยประการนั้น กถํ ด้วยประการไร ตถา ด้วยประการนั้น |
ยถา โดยประการใด ตถา, เอวํ โดยประการนั้น กถํ โดยประการไร ในหนังสืออรรถกถาธรรมบทแปลโดยพยัญชนะที่ใช้กันอยู่ แปลว่า “โดย…” ไม่ได้แปลว่า "ด้วย…" ไม่มีคำว่า "ยถา" ในแบบ นิบาตบอกประการ |
นิบาตบอกความถาม | |
กึ หรือ, อะไร |
กึ หรือ, ทำไม, อย่างไร (กึ นิบาต หรือ, ทำไม, อย่างไร กึ สัพพนาม ใคร, อะไร, ไหน) |
กจฺจิ แลหรือ |
กจฺจิ แลหรือ (แปลโดยอรรถ บ้างหรือ, บ้างไหม) เพิ่ม อปิ บ้างหรือ (แปลโดยอรรถ บ้างไหม) (วาง อปิ ไว้ต้นประโยค) |
หมายเหตุหน้า 2
ในแบบไวยากรณ์ เดิม | ในชีทนี้ |
---|---|
ปัจจัยนั้น ลงท้ายนามศัพท์ เป็นเครื่องหมายวิภัตติบ้าง ลงท้ายธาตุ เป็นเครื่องหมายกิริยาบ้าง |
ปัจจัย ลงท้ายนามศัพท์ เป็นเครื่องหมายวิภัตติ ลงท้ายธาตุ เป็นเครื่องหมายกิริยาและวิภัตติ อัพยยปัจจัย ลงท้ายธาตุ เป็นเครื่องหมายวิภัตติ เช่น |
ตฺร อ่านว่า ตฺระ / ตฺร๊ะ (ควบกล้ำ เช่น ตระกูล) ตฺถ อ่านว่า ตฺ-ถะ (ตะ ออกเสียงสั้นๆ) ยตฺร อ่านว่า ยัด-ตฺระ/ตฺร๊ะ (ควบกล้ำ) อตฺร อ่านว่า อัด-ตฺระ/ตฺร๊ะ (ควบกล้ำ) เอตฺถ อ่านว่า เอ็ด-ถะ (เอ ที่มีตัวสะกด ออกเสียงสั้น) กฺว อ่านว่า กฺวะ/กฺว๊ะ (ควบกล้ำ เช่น ไม้กวาด) |
|
เพิ่ม: กตฺถจิ กฺวจิ ในที่ไหนๆ, ในที่บางแห่ง | |
กทาจิ ในกาลไหน, บางคราว |
กทาจิ ในกาลไหนๆ, บางคราว
กึ มี จิ ต่อท้าย ไม่ใช่คำถาม. แปลว่า กาลไหนๆ |
กุทาจนํ ในกาลไหน |
กุทาจนํ ในกาลไหนๆ เป็นบทท้ายของหลายคาถา ไม่ใช้เป็นคำถาม (อาจจะมาจากรูป กทาจิ กุทาจิ) |
Download PDF
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น