มี, เป็น, มีอยู่, เป็นอยู่
อตฺถิ อส อตฺถิภาโว อตฺถิตา อสุ
- อตฺถิ เป็น อาขฺยาต อย่าง 1 เป็น อวฺยย หรือ อพฺยย (นิบาต) อย่าง 1
อาข. เป็น เอก. อวฺ เป็นทั้ง เอก. พหุ. ดังบาลีว่า
ปุตฺตามตฺถิ ธนมตฺถิ บุตร ท. ของเรามีอยู่ ทรัพย์มีอยู่ [ปุตฺตา+เม+อตฺถิ=ปุตฺตามตฺถิ] - ส. - อส น. ความมี, ความเป็น (อส อิติ อวิภตฺติกํ นามิกปทํ - ส.)
ดังบาลีว่า อส อสฺมีติ โหติ ความมี มีอยู่ว่า (เรา) มี - ส. - อตฺถิภาโว อตฺถิตา น. ความมี-เป็น, ความเป็นของมี-เป็น [อตฺถิ+ภาว. อตฺถิ+ตา]
- อสุ ชีวิต, 'เครื่องเป็นอยู่' '=ปาโณ' เป็น อาสุ บ้าง - สูจิ.
อส ธาตุ แจกเป็นบทมาลา ดังนี้:-
วตฺตมานา - อตฺถิ สนฺติ, อาหิ อตฺถ, อสฺมิ อสฺม, อมฺหิ อมฺห; ฯเปฯ.
ปญฺจมี - อตฺถุ สนฺตุ, อาหิ อตฺถ, อสฺมิ, อสฺม, อมฺหิ อมฺห; ฯเบ่ฯ.
สตฺตมี - สิยา-อสฺส สิยุํ-อสฺสุ-สิยํสุ, อสฺส อสฺสถ, สิยํ-อสฺสํ อสฺสาม: ฯเปฯ.
สิยา เป็นไปในอรรถ คือ เอกํส แน่นอน อย่าง 1 วิกปฺปน กำหนด, ไม่แน่นอน อย่าง 1
เอกํส ดังบาลีว่า ปฐวีธาตุ สิยา อชฺฌตฺติกา สิยา พาหิรา ปฐวีธาตุ เป็นภายใน เป็นภายนอก (ไม่ควรแปลว่า พึง).
วิกปฺปน ดังบาลีว่า สิยา อญฺญตรสฺส ภิกฺขุโน อาปตฺติวีติกฺกโม ความล่วงอาบัติ พึงมี แก่ภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง.
สิยานี้ เป็น อาขฺยาต อย่าง 1 อวฺยย อย่าง 1 (เหมือน อตฺถิ)
อา. สุขํ น สุขสหคตํ สิยา (เอก.).
ปีติสหคตนฺติ อิเม ธมฺมา สิยา ปริตฺตารมฺมณา (พหุ.) - ส.
พาณิชา พฺยสนี สิยา พาณิช ท. พึงฉิบหาย (สิยา ในที่นี้เป็น พหุ. เท่ากับ ภเวยฺยุํ (โสณกชาดก).
สิยํสุ=ภเวยฺยุํ อา. เตสญฺจ โข ภิกฺขเว สมคฺคานํ สมฺโมทมานานํ สิยํสุ เทฺว ภิกฺขู อภิธมฺเม นานาวาทา.
ปโรกขา-อส ฯเปฯ ดังบาลีว่า อิติห อส อิติห อส เป็นแล้วอย่างนี้ เป็นแล้วอย่างนี้ - ส.
หิยตฺตนี - (ไม่มีที่ใช้).
อชฺชตฺตนี - อาสิ อาสึสุ, อาสุํ อาสิตฺถ, อาสํ อาสิมฺหา.
ภวิสฺสนฺติ - ภวิสฺสติ ภวิสฺสนฺติ.
กาลาติปตฺติ - อภวิสฺสา อภวิสฺสํสุ - ส.
Comments