พจนานุกรมธาตุ

ธาตุ
ธาตุ Sort ascending อรรถ ตัวอย่าง หมวดธาตุ

โอห

จาเค

สละ, ละ

โอหติ
สพฺพมนตฺถํ อโปหติ
อญฺญตฺถา โปหนํ.

ภู (อ)

โอลฑิ
[โอลฑ, โอลฑิ]

อุกฺขิเป

ขว้างขึ้น, ยกขึ้น

ภู (อ), จุร (เณ ณย)

โอลฑ
[โอลฑ, โอลฑิ]

อุกฺขิเป

ขว้างขึ้น, ยกขึ้น

ภู (อ), จุร (เณ ณย)

โอลชิ

เขเป

ซัดไป, ทิ้ง, ขว้าง, สิ้นไป

โอลญฺชติ, โอลญฺชนฺติ.

ภู (อ)

โอมา

สมตฺถเน

ความสามารถ

โอมาติ ภนฺเต ภควา อิทฺธิยา มโนมเยน กาเยน พฺรหฺมโลกํ อุปสงฺกมิตุํ.
โอมาตีติ ปโหติ สกฺโกติ อิทํ ติปิฏเก พุทฺธวจเน อสมฺภินฺนปทํ.

อีกนัยหนึ่ง มาจาก อว-มา ธาตุ.

ภู (อ)

โอปุชิ

วิลิมฺเป

ฉาบทา, พอก

โอปุญฺชติ
โคมเยน ปฐวึ โอปุญฺชาเปตฺวา. ธาตุนี้ อว-ปุชิ ธาตุ ก็เรียก.

ภู (อ)

โอป

ฐปเน

ตั้งไว้; วางไว้

น เตสํ โกฏฺเฐ โอเปนฺติ.

จุร (เณ ณย)

โอป

นิฏฺฐุเก

ถ่ม, บ้วนน้ำลาย

โอปติ
โอสธํ สงฺขาทิตฺวาน มุเขน เขฬํ โอปิ.

ภู (อ)

โอณ

อปสาเร

ขับไล่, นำออก, คลี่ออก, เหยียดออก

โอณติ
ภควนฺตํ ภุตฺตาวึ โอนีตปตฺตปาณึ.

ภู (อ)

โอช

พลเตเช

มีพลัง; มีเดช

โอชยติ
โอโช, โอชา, โอชํ กำลัง, รส, อาหาร. 
โอชสงฺขาโต อาหาโร.

จุร (เณ ณย)

โอข

โสสาภูสาสมตฺถวารเณร

เหือดแห้ง; ประดับ, ตกแต่ง, กล้า, แข็ง; สามารถ, ห้าม

โอขติ.

ภู (อ)

โหฬ

คตฺยนาทเรสุ

ไป, ถึง, บรรลุ; ไม่เอื้อเฟื้อ

โหฬเต.

ภู (อ)

โสณ

รตฺตสงฺฆาตสปฺปเน

สีแดง; รวม, ประชุม; ไป, ถึง, บรรลุ

โสณติ
สูริโย สญฺฌายํ โสณตีติ โสณํ, สินฺทูรํ รุธิรญฺจ สารหนูแดง, โลหิต, เลือด. 
โสโณ สีแดง. 
โสณโก ต้นเพกา.

ภู (อ)

โสฑ
[โสฏ, โสฑ]

คพฺเพ

โอ้อวด

โสฏฺติ
โสฑติ สูโร.

ภู (อ)

โสฏ
[โสฏ, โสฑ]

คพฺเพ

โอ้อวด

โสฏฺติ
โสฑติ สูโร.

ภู (อ)

โส

อว บทหน้า โอสิเต

จบลง, สำเร็จลง, สิ้นสุดลง

อวสฺยติ
อวสิตํ, อวสานํ, โอสานํ, ปริโยสานํ, อวสาโย การจบลง, สิ้นสุดลง. 
ถ้าลงการิตปัจจัยมีรูปเป็น อตฺตนา วิปฺปกตํ ปเรหิ ปริโยสาเปติ
ถ้าลงการิตปัจจัยสองชั้นจะมีรูปเป็น ปริโยสาวาเปติ ในบทหลังนี้แปลง ป แห่ง ณาเป ในชั้นแรกเป็น ว เป็น ปริโยสาวาเปติ ตามมติของสัททนีติ.

ทิว (ย)

โส

อนุ, วิ, อว บทหน้า ปุนพิโพเธ

รู้แล้วรู้อีก

อนุพฺยวสฺยติ
อนุพฺยวสาโย.

ทิว (ย)

โส

นิสานนาสเน

ลับให้คม, ทำให้บาง; ทำลาย

สฺยติ สตฺตุํ สูโร
มานํ สฺยติ สมุจฺฉินฺทตีติ มานสํ, อรหตฺตํ. 
ถ้าเป็น สิยติ สำเร็จรูปได้ด้วยการลง อิ อาคม

ทิว (ย)

โส

วิ, อว บทหน้า อุยฺยามโพเธ

พยายาม; รู้, ตรัสรู้

พฺยาสติ, พฺยาสียเต
พฺยวสาโย.

ทิว (ย)

โลฬ

อุมฺมาเท

เป็นบ้า, หลง

โลฬติ
โลฬนํ ความบ้า, ความหลง. 
โลโฬ คนลุ่มหลง (ถ้าแปลง ฬ เป็น ล จะมีรูปเป็น โลโล)

ภู (อ)