พจนานุกรมธาตุ

ธาตุ
ธาตุ อรรถ Sort descending ตัวอย่าง หมวดธาตุ

วจ

กถเน

กล่าว, พูด

วจติ. วตฺติ. อุตฺติ
วตฺตา วจนกฺขโม
วจี, วจนํ
นิรุตฺติ, นิรุตฺตํ, เนรุตฺตํ
วากฺยํ, วาจนํ การพูด. 
ถ้าลงการิตปัจจัยจะมีรูปเป็น วาเจติ
ในกัมมวาจกจะมีรูปเป็น วุจฺจติ อุจฺจติ วา.

ภู (อ)

รฏ
[รฏ, รฐ]

กถเน

กล่าว, พูด

ภู (อ)

รฐ
[รฏ, รฐ]

กถเน

กล่าว, พูด

ภู (อ)

กถ

กถเน; วากฺยปปพนฺเธ จ

กล่าว, แสดง, ชี้แจง, อธิบาย; แต่ง, ประพันธ์, ร้อยกรอง

กเถติ กถยติ สากจฺฉติ กถา ปริกถา อฏฺฐกถา กถิโต กเถตฺวา กเถตุํ ฯเปฯ

  • สากจฺฉติ  ก. เจรจากัน, พูดโต้ตอบกัน ‘=สห กถยติ’  รูปนาม สากจฺฉา - ส.
  • กถา  น. ถ้อยคำ, คำพูด, คำอธิบาย; สมุดที่แต่งขึ้น, ข้อประพันธ์.
  • ปริกถา  น. นิยาย, คำอธิบาย, พูดเลียบเคียง [ปริ+กถา ‘กล่าวรอบๆ’].
  • อฏฺฐกถา  ‘=อตฺถสํวณฺณนา’ อธิบายเนื้อความ. วิ. อตฺโถ กถิยติ เอตายาติ อฏฺฐกถา, แปลง ถ เป็น ฐ - ส.
จุร (เณ ณย)
[ธป]

ฆุสิ

กนฺติกเร
ทำ(ให้เกิด)ความยินดี

ฆุํสเต จนฺโท คตฺตํ. 
ในโถมนิธิแยกเป็น 2 ความหมาย, ส่วนในสัททนีติ กล่าวว่าธาตุนี้เป็นอีการันตธาตุ.

ภู (อ)

วส

กนฺตินิวาสสูเท

ยินดี; อาศัยอยู่; ให้ไหลออก

วสติ, วจฺฉติ.
วจฺฉโย ความยินดี. 
วาโส, ปริวาโส, สํวาโส, นิวาโส การอาศัยอยู่. 
อายสฺมโต นิสฺสาย วจฺฉามิ
ชินวจฺฉโย วสลธมฺมนฺติ ปาปธมฺเม วสนฺติ ปคฺฆรนฺตีติ วสลา, เตสํ วสลานํ หีนปุริสานํ ธมฺมํ.

ภู (อ)

วี

กนฺติพฺยาปเขปนขาทเน

ยินดี; แผ่ไป; ซัด, ทิ้งไป; กิน

เวติ.

ภู (อ)

มิเล

กนฺติสงฺขเย
เหี่ยวเฉา, อับแสง

มาลา มิลายนฺติ
มิลายติ จนฺโท ทิวเส ทิวเส.

ภู (อ)

อิล

กมฺปนคติสยเน

หวั่นไหว; ไป; นอน

อิลติ
เอลํ, เอฬํ ความหวั่นไหว, ความเลว.

ภู (อ)

เตป

กมฺปนทิตฺติเสเก

หวั่นไหว; สว่าง, รุ่งเรือง; ราด, รด

ภู (อ)

เอช

กมฺปนทิตฺตีสุ

หวั่นไหว, อยาก; สว่าง, รุ่งเรือง

อาภาทีสุ เอชติ กมฺปตีติ เอชา
เสชํ ติปากํ ติกฺริยํ, 
จตุรูปญฺจ เสชิโน
อเนโช สนฺติมารพฺภ.

ภู (อ)

วิธ

กมฺปนหึสเน

หวั่นไหว; เบียดเบียน

เวธติ
ปุตฺตทาเนน เวธเต หทยํ มม. 
เวธยติ
โคธา ปเวธมานา นิกฺขมิ.

ภู (อ), จุร (เณ ณย)

จล

กมฺปวิลาสคตีสุ
หวั่นไหว; งดงาม; ไป, ถึง

จลติ
จลํ, จลนํ ความหวั่นไหว. 
มหาภูมิจาโล
อุฏฺฐาย ปจลิโต.

ภู (อ)

เวป

กมฺปเน

หวั่นไหว

เวปติ
เวปนํ, เวโป ความหวั่นไหว. 
เวเปน นิพฺพตฺโต เวปถุ เกิดด้วยความหวั่นไหว. 
เวปติ กมฺปตีติ เวตฺตํ เครือหวาย.

ภู (อ)

กมฺป

กมฺปเน (จลเน)

ไหว, หวั่น, สั่น, รัว

กมฺปติ กมฺปนํ อวกมฺปนํ อนุกมฺปา การิต-กมฺเปติ

  • อวกมฺปนํ  นป. ความอนุเคราะห์, ความกรุณา, เอ็นดู, ช่วยเหลือ [อว+กมฺป] - ส.
  • อนุกมฺปา  อิ. (แปลเหม็อน อวกมฺปนํ) [อนุ+กมฺป 'ไหวใจไปตาม'] (อ.160).
  • กมฺเปติ  อา. อิทมฺปิ ทุติยํ สลฺลํ กมฺเปติ หทยํ มม ลูกศรที่ 2 แม้นี้ ยังหทัยของข้าพเจ้าให้หวั่น - ส.
ภู (อ)
[ธป]

ตีร

กมฺมนิฏฐาปเน
ให้การงานสำเร็จ

ตีเรติ
สํติรยตีติ สนฺตีรณํ, ตํ กิจฺจํ ตีเรตฺวา. ตีรํ ฝั่ง 
ในโถมนิธิเป็น ตีร ปารคติยํ, จุ, อกัมม.

จุร (เณ ณย)

ปาร

กมฺมสมฺปตฺติยํ
ความสำเร็จแห่งการงาน

ปาเรติ, ปาเรยติ
ปารํ ฝั่ง, พระนิพพาน.
ปารคู
นทึ ปารยติ อชฺโฌตฺถรตีติ นทีปารา, สีมา.

จุร (เณ ณย)

อิชิ
[อิชิ, อิญฺช]

กมฺเป

หวั่นไหว, เคลื่อนไหว

อิญฺชติ
อิญฺชนา, อิญฺชนํ ความหวั่นไหว. 
สมิญฺชิตํ วา พาหํ ปสาเรยฺย, 
ปสาริตํ วา พาหํ สมิญฺเชยฺย
เอสา กายสฺส อิญฺชนา.

ภู (อ)

อิญฺช
[อิชิ, อิญฺช]

กมฺเป

หวั่นไหว, เคลื่อนไหว

อิญฺชติ
อิญฺชนา, อิญฺชนํ ความหวั่นไหว. 
สมิญฺชิตํ วา พาหํ ปสาเรยฺย, 
ปสาริตํ วา พาหํ สมิญฺเชยฺย
เอสา กายสฺส อิญฺชนา.

ภู (อ)

ปณ

กยวิกฺกยถุตีสุ
แลกเปลี่ยน, ซื้อขาย; สรรเสริญ

ปณติ โวหรตีติ ปาณิ มือ, ฝ่ามือ, บอกซื้อ, บอกขาย. 
ปณติ วณิโช. 
อาปณํ ร้านค้า. 
ปณิยติ โวหริยตีติ ปณฺณํ ใบไม้.

ภู (อ)