ฐา (ยืน ตั้ง ดำรง) stand สฺถา สฺถาปน อกมฺม.
ฐา-อ = ฐา, ติฏฺฐ (เทฺวภาวะ)
- แปลง ฐา เป็น ติฏฐ บ้าง
- ฐา ธาตุ ลง หฺ อาคมได้เมื่อมีอุปสัคอยู่หน้าเท่านั้น เช่น สณฺฐหติ, ปติฏฺฐหติ
- ติฏฺฐาติ ติฏฺฐหติ ไม่มีใช้
วัตตมานา
ป. | โส ฐาติ | - |
- ฐาติ มีใช้เพียง 2-3 แห่ง ในพระไตรปิฎก
ป. | โส ติฏฐติ | เต ติฏฐนฺติ |
ม. | ตฺวํ ติฏฐสิ | ตุมฺเห ติฏฐถ |
อุ. | อหํ ติฏฐามิ | มยํ ติฏฐาม |
ปัญจมี
ป. | โส ติฏฐตุ | เต ติฏฐนฺตุ |
ม. | ตฺวํ ติฏฐาหิ, ติฏฐ | ตุมฺเห ติฏฐถ |
อุ. | อหํ ติฏฐามิ | มยํ ติฏฐาม |
- โย ถีนมิทฺธาภิภูโต โหติ โส ติฏฺฐตุ.
สัตตมี
ป. | โส ติฏเฐยฺย/ติฏเฐ | เต ติฏเฐยฺยุํ |
ม. | ตฺวํ ติฏเฐยฺยาสิ | ตุมฺเห ติฏเฐยฺยาถ |
อุ. | อหํ ติฏเฐยฺยามิ/ติฏเฐยฺยํ | มยํ ติฏเฐยฺยาม |
- ติฏฺเฐ มีใช้ในคาถา ติฏฺเฐถ ไม่มีใช้
อัชชัตตนี
ป. | โส อฏฺฐาสิ | เต อฏฺฐํสุ |
ม. | ตฺวํ อฏฺฐาสิ | ตุมฺเห อฏฺฐาสิตฺถ |
อุ. | อหํ อฏฺฐาสึ | มยํ อฏฺฐาสิมฺหา |
ป. | โส ปติฏฺฐหิ | เต ปติฏฺฐหึสุ |
- ปติ-ฐา ลง หฺ อาคม ท้าย ฐา ธาตุ ที่มีอุปสัคอยู่หน้าธาตุบ้าง เช่น สณฺฐหติ, ปติฏฺฐหติ แล้วรัสสะ อา เป็น อ
- ติฏฺฐิ ไม่มีใช้
ภวิสสันติ
ป. | โส ฐสฺสติ | เต ฐสฺสนฺติ |
ม. | ตฺวํ ฐสฺสสิ | ตุมฺเห ฐสฺสถ |
อุ. | อหํ ฐสฺสามิ | มยํ ฐสฺสาม |
- ฐา รัสสะ อา เป็น อ
- ติฏฺฐิสฺสติ ปติฏฺฐิสฺสติ ไม่มีใช้
กาลาติปตฺติ
ป. | โส อติฏฐิสฺส | เต อติฏฐิสฺสํสุ |
ม. | ตฺวํ อติฏฐิสฺเส | ตุมฺเห อติฏฐิสฺสถ |
อุ. | อหํ อติฏฐิสฺสํ | มยํ อติฏฐิสฺสามฺหา |
กิริยากิตก์
ปัจจัย | อนฺต | ตวนฺตุ | ตาวี | อนีย | ตพฺพ | มาน | ต | ตูน | ตฺวา | ตฺวาน | ตเว | ตุํ |
ติฏฺฐนฺต | ฐาตวนฺตุ | ฐาตาวี | ฐานีย | ฐาตพฺพ | ติฏฺฐมาน | ฐิต | ฐาตูน | ฐตฺวา | ฐตฺวาน ปติฏฺฐหิตฺวาน | ฐาตเว | ฐาตุํ | |
ปุ. | ติฏฺฐนฺโต ติฏฺฐํ | - | - | ฐานีโย | ฐาตพฺโพ | ติฏฺฐมาโน | ฐิโต | - | ||||
อิต. | ติฏฺฐนฺตี | - | - | ฐานียา | ฐาตพฺพา | ติฏฺฐมานา | ฐิตา | - | ||||
นปุ. | ติฏฺฐนฺตํ | - | - | ฐานียํ | ฐาตพฺพํ | ติฏฺฐมานํ | ฐิตํ | - |
นามกิตก์
กฺวิ | อ | มคฺคผลฏฺโฐ ธมฺมฏฺโฐ ภุมฺมฏฺโฐ ปพฺพตฏฺโฐ กปฺปฏฺโฐ | |
ณี | กปฺปฏฺฐายี | อิ | |
ณฺวุ | อุปฏฺฐาโก คิลานุปฏฺฐาโก สงฺฆุปฏฺฐาโก ภุมฺมฏฺฐโก | ณ | |
ตุ | ติ | ฐิติ | |
รู | ยุ | ฐานํ อุฏฺฐานํ อุปฏฺฐานํ | |
ข | |||
ณฺย |
ความคิดเห็น