การท่อง:
ธาตุ 8 หมวด
หมวด ภู ธาตุ ลง อ เอ ปัจจัย
หมวด รุธ ธาตุ ลง อ เอ ปัจจัย และนิคคหิตอาคม หน้าพยัญชนะที่สุดธาตุ
หมวด ทิว ธาตุ ลง ย ปัจจัย
หมวด สุ ธาตุ ลง ณุ ณา ปัจจัย
หมวด กี ธาตุ ลง นา ปัจจัย
หมวด คห ธาตุ ลง ณฺหา ปัจจัย
หมวด ตน ธาตุ ลง โอ ปัจจัย
หมวด จุร ธาตุ ลง เณ ณย ปัจจัย
หมวด ภู ธาตุ ลง อ ปัจจัย
ภู ธาตุ |
ลง อ ปัจจัย |
เป็น ภว |
แปลว่า มี, เป็น |
เช่น ภวติ ย่อมมี, ย่อมเป็น |
หุ ธาตุ |
ลง อ ปัจจัย |
เป็น โห |
แปลว่า มี, เป็น |
เช่น โหติ ย่อมมี, ย่อมเป็น |
สี ธาตุ |
ลง อ ปัจจัย |
เป็น เส, สย |
แปลว่า นอน |
เช่น เสติ สยติ ย่อมนอน |
ชิ ธาตุ |
ลง อ ปัจจัย |
เป็น เช, ชย |
แปลว่า ชนะ |
เช่น เชติ ชยติ ย่อมชนะ |
มร ธาตุ |
ลง อ ปัจจัย |
เป็น มร |
แปลว่า ตาย |
เช่น มรติ ย่อมตาย |
ปจ ธาตุ |
ลง อ ปัจจัย |
เป็น ปจ |
แปลว่า หุงต้ม, เผา |
เช่น ปจติ ย่อมหุงต้ม, ย่อมเผา |
อิกฺข ธาตุ |
ลง อ ปัจจัย |
เป็น อิกฺข |
แปลว่า เห็น |
เช่น อิกฺขติ ย่อมเห็น |
ลภ ธาตุ |
ลง อ ปัจจัย |
เป็น ลภ |
แปลว่า ได้ |
เช่น ลภติ ย่อมได้ |
คม ธาตุ |
ลง อ ปัจจัย |
เป็น คจฺฉ |
แปลว่า ไป, ถึง |
เช่น คจฺฉติ ย่อมไป, ย่อมถึง |
หมวด รุธ ธาตุ ลง อ, เอ ปัจจัย และนิคคหิตอาคม หน้าพยัญชนะที่สุดธาตุ
รุธ ธาตุ |
ลง อ เอ ปัจจัย และนิคคหิตอาคม |
เป็น รุนฺธ รุนฺเธ |
แปลว่า ปิด, กั้น |
เช่น รุนฺธติ รุนฺเธติ ย่อมปิด, ย่อมกั้น |
ภุช ธาตุ |
ลง อ ปัจจัย และนิคคหิตอาคม |
เป็น ภุญฺช |
แปลว่า กิน |
เช่น ภุญฺชติ ย่อมกิน |
ลิป ธาตุ |
ลง อ ปัจจัย และนิคคหิตอาคม |
เป็น ลิมฺป |
แปลว่า ฉาบ |
เช่น ลิมฺปติ ย่อมฉาบ |
มุจ ธาตุ |
ลง อ ปัจจัย และนิคคหิตอาคม |
เป็น มุญฺจ |
แปลว่า ปล่อย |
เช่น มุญฺจติ ย่อมปล่อย |
ภิท ธาตุ |
ลง อ ปัจจัย และนิคคหิตอาคม |
เป็น ภินฺท |
แปลว่า ทำลาย, ต่อย |
เช่น ภินฺทติ ย่อมทำลาย, ย่อมต่อย |
ฉิท ธาตุ |
ลง อ ปัจจัย และนิคคหิตอาคม |
เป็น ฉินฺท |
แปลว่า ตัด, ผ่า |
เช่น ฉินฺทติ ย่อมตัด, ย่อมผ่า |
หมวด ทิว ธาตุ ลง ย ปัจจัย
ทิว ธาตุ |
ลง ย ปัจจัย |
เป็น ทิพฺพ |
แปลว่า เล่น |
เช่น ทิพฺพติ ย่อมเล่น |
สิว ธาตุ |
ลง ย ปัจจัย |
เป็น สิพฺพ |
แปลว่า เย็บ |
เช่น สิพฺพติ ย่อมเย็บ |
ขี ธาตุ |
ลง ย ปัจจัย |
เป็น ขีย |
แปลว่า สิ้น |
เช่น ขียติ ย่อมสิ้น |
พุธ ธาตุ |
ลง ย ปัจจัย |
เป็น พุชฺฌ |
แปลว่า รู้, ตรัสรู้ |
เช่น พุชฺฌติ ย่อมรู้, ย่อมตรัสรู้ |
มุห ธาตุ |
ลง ย ปัจจัย |
เป็น มุยฺห |
แปลว่า หลง |
เช่น มุยฺหติ ย่อมหลง |
มุส ธาตุ |
ลง ย ปัจจัย |
เป็น มุสฺส |
แปลว่า ลืม |
เช่น มุสฺสติ ย่อมลืม |
รช ธาตุ |
ลง ย ปัจจัย |
เป็น รชฺช |
แปลว่า ย้อม |
เช่น รชฺชติ ย่อมย้อม |
ปจ ธาตุ |
ลง ย ปัจจัย |
เป็น ปจฺจ |
แปลว่า สุก, ไหม้ |
เช่น ปจฺจติ ย่อมสุก, ย่อมไหม้ |
มุจ ธาตุ |
ลง ย ปัจจัย |
เป็น มุจฺจ |
แปลว่า หลุด, พ้น |
เช่น มุญฺจติ ย่อมหลุด, ย่อมพ้น |
ภิท ธาตุ |
ลง ย ปัจจัย |
เป็น ภิชฺช |
แปลว่า แตก |
เช่น ภินฺทติ ย่อมแตก |
ฉิท ธาตุ |
ลง ย ปัจจัย |
เป็น ฉิชฺช |
แปลว่า ขาด, ทะลุ |
เช่น ฉินฺทติ ย่อมขาด, ย่อมทะลุ |
หมวด สุ ธาตุ ลง ณุ ณา ปัจจัย
สุ ธาตุ |
ลง ณุ ณา ปัจจัย |
เป็น สุโณ สุณา |
แปลว่า ฟัง |
เช่น สุโณติ สุณาติ ย่อมฟัง |
วุ ธาตุ |
ลง ณา ปัจจัย |
เป็น วุณา |
แปลว่า ร้อย |
เช่น วุณาติ ย่อมร้อย |
สิ ธาตุ |
ลง ณุ ปัจจัย |
เป็น สิโณ |
แปลว่า ผูก |
เช่น สิโณติ ย่อมผูก |
หมวด กี ธาตุ ลง นา ปัจจัย
กี ธาตุ |
ลง นา ปัจจัย |
เป็น กีณา |
แปลว่า ซื้อ |
เช่น กีณาติ ย่อมซื้อ |
ชิ ธาตุ |
ลง นา ปัจจัย |
เป็น ชินา |
แปลว่า ชนะ |
เช่น ชินาติ ย่อมชนะ |
จิ ธาตุ |
ลง นา ปัจจัย |
เป็น จินา |
แปลว่า ก่อ, สั่งสม |
เช่น จินาติ ย่อมก่อ, ย่อมสั่งสม |
ญา ธาตุ |
ลง นา ปัจจัย |
เป็น ชานา |
แปลว่า รู้ |
เช่น ชานาติ ย่อมรู้ |
ธุ ธาตุ |
ลง นา ปัจจัย |
เป็น ธุนา |
แปลว่า กำจัด, ทำลาย |
เช่น ชานาติ ย่อมกำจัด, ย่อมทำลาย |
ลุ ธาตุ |
ลง นา ปัจจัย |
เป็น ลุนา |
แปลว่า เกี่ยว, ตัด |
เช่น ลุนาติ ย่อมเกี่ยว, ย่อมตัด |
ผุ ธาตุ |
ลง นา ปัจจัย |
เป็น ผุนา |
แปลว่า ฝัด, โปรย |
เช่น ผุนาติ ย่อมฝัด, ย่อมโปรย |
หมวด คห ธาตุ ลง ณฺหา ปัจจัย
คห ธาตุ |
ลง ณฺหา ปัจจัย |
เป็น คณฺหา |
แปลว่า ถือเอา, จับ, รับ |
เช่น คณฺหาติ ย่อมถือเอา, ย่อมจับ, ย่อมรับ |
หมวด ตน ธาตุ ลง โอ ปัจจัย
ตน ธาตุ |
ลง โอ ปัจจัย |
เป็น ตโน |
แปลว่า แผ่ไป |
เช่น ตโนติ ย่อมแผ่ไป |
กร ธาตุ |
ลง โอ ปัจจัย |
เป็น กโร |
แปลว่า ทำ |
เช่น กโรติ ย่อมทำ |
สกฺก ธาตุ |
ลง โอ ปัจจัย |
เป็น สกฺโก |
แปลว่า อาจ |
เช่น สกฺโกติ ย่อมอาจ |
ชาคร ธาตุ |
ลง โอ ปัจจัย |
เป็น ชาคโร |
แปลว่า ตื่น |
เช่น ชาคโรติ ย่อมตื่น |
หมวด จุร ธาตุ ลง เณ ณย ปัจจัย
จุร ธาตุ |
ลง เณ ณย ปัจจัย |
เป็น โจเร โจรย |
แปลว่า ลัก, ขโมย |
เช่น โจเรติ โจรยติ ย่อมลัก, ย่อมขโมย |
ตกฺก ธาตุ |
ลง เณ ณย ปัจจัย |
เป็น ตกฺเก ตกฺกย |
แปลว่า ตรึก |
เช่น ตกฺเกติ ตกฺกยติ ย่อมตรึก |
ลกฺข ธาตุ |
ลง เณ ณย ปัจจัย |
เป็น ลกฺเข ลกฺขย |
แปลว่า กำหนด |
เช่น ลกฺเขติ ลกฺขยติ ย่อมกำหนด |
มนฺต ธาตุ |
ลง เณ ณย ปัจจัย |
เป็น มนฺเต มนฺตย |
แปลว่า ปรึกษา |
เช่น มนฺเตติ มนฺตยติ ย่อมปรึกษา |
จินฺต ธาตุ |
ลง เณ ณย ปัจจัย |
เป็น จินฺเต จินฺตย |
แปลว่า คิด |
เช่น จินฺเตติ จินฺตยติ ย่อมคิด |
ความคิดเห็น1
ดีมาก
ดีมาก