ผังอาขยาต

การท่องวิภัตติอาขยาต:
คำในวงเล็บ คือ วิภัตติฝ่ายอัตตโนบท – ฝั่งขวามือ  จะไม่ท่องก็ได้ หรือจะท่องภายหลังก็ได้ เพราะมีใช้น้อยมาก
แต่ให้ท่องวิภัตติส่วนที่ใช้แทนกัน ซึ่งแสดงไว้ต่อจากนี้

วิภัตติอาขยาต
วตฺตมานา  บอกปัจจุบันกาล แปลว่า อยู่, ย่อม, จะ
ติ อนฺติ – สิ ถ – มิ ม (เต อนฺเต  – เส วฺเห – เอ มฺเห)
ปญฺจมี บอกความบังคับ, ความหวัง, ความอ้อนวอน แปลว่า จง, เถิด, ขอจง
ตุ อนฺตุ – หิ ถ – มิ ม (ตํ อนฺตํ – สฺสุ วฺโห – เอ อามฺหเส)
สตฺตมี บอกความยอมตาม, ความกำหนด, ความรำพึง แปลว่า ควร, พึง, พึง
เอยฺย เอยฺยุํ – เอยฺยาสิ เอยฺยาถ – เอยฺยามิ เอยฺยาม (เอถ เอรํ – เอโถ เอยฺยวฺโห – เอยฺยํ เอยฺยามฺเห)
ปโรกฺขา อดีตกาล แปลว่า แล้ว
อ อุ – เอ ตฺถ – อํ มฺห  (ตฺถ เร – ตฺโถ วฺโห – อึ มฺเห)
หิยตฺตนี บอกอดีตกาล แปลว่า ‘แล้ว’ ถ้ามี อ นำหน้า แปลว่า ‘ได้
แล้ว’
อา โอ – อํ อู – ตฺถ มฺห (ตฺถ ตฺถุํ – เส วฺหํ – อึ มฺหเส)   
อชฺชตฺตนี บอกอดีตกาล แปลว่า ‘แล้ว’ ถ้ามี อ นำหน้า แปลว่า ‘ได้
แล้ว’
อี อุํ – โอ ตฺถ – อึ มฺหา (อา อู – เส วฺหํ – อํ มฺเห)   
ภวิสฺสนฺติ บอกอนาคตกาล แปลว่า จัก
สฺสติ สฺสนฺติ – สฺสสิ สฺสถ – สฺสามิ สฺสาม (สฺสเต สฺสนฺเต – สสฺเส สฺสวฺเห – สฺสํ สฺสามฺเห)
กาลาติปตฺติ บอกอนาคตกาลของอดีต แปลว่า ‘จัก
แล้ว ’ ถ้า มี อ นำหน้า แปลว่า จักได้แล้ว’
สฺสา สฺสํสุ – สฺเส สฺสถ – สฺสํ สฺสามฺหา (สฺสถ สฺสึสุ – สสฺเส สสฺวฺเห – สฺสํ สฺสามฺหเส)

ท่องวิภัตติฝ่ายอัตตโนบท (ฝั่งขวามือ) ที่ใช้แทนวิภัตติฝ่ายปรัสสบท (ฝั่งซ้ายมือ):
วตฺตมานา  ใช้ เต แทน ติ,  ใช้ อนฺเต แทน อนฺติ.
ปญฺจมี  ใช้ ตํ แทน ตุ,  ใช้ สฺสุ แทน หิ.
สตฺตมี  ใช้ เอถ แทน เอยฺย,  ใช้ เอยฺยํ แทน เอยฺยามิ.
ภวิสฺสนฺติ  ใช้ สฺสํ แทน สฺสามิ.

ท่องย่อเฉพาะวิภัตติ
ติ อนฺติ – สิ ถ – มิ ม
ตุ อนฺตุ – หิ ถ – มิ ม
เอยฺย เอยฺยุํ – เอยฺยาสิ เอยฺยาถ – เอยฺยามิ เอยฺยาม
อ อุ – เอ ตฺถ – อํ มฺห
อา โอ – อํ อู – ตฺถ มฺห
อี อุํ – โอ ตฺถ – อึ มฺหา
สฺสติ สฺสนฺติ – สฺสสิ สฺสถ – สฺสามิ สฺสาม
สฺสา สฺสํสุ – สฺเส สฺสถ – สฺสํ สฺสามฺหา

ธาตุ 8 หมวด
หมวด ภู ธาตุ  ลง อ เอ ปัจจัย
หมวด รุธ ธาตุ  ลง อ เอ ปัจจัย และนิคคหิตอาคม หน้าพยัญชนะที่สุดธาตุ
หมวด ทิว ธาตุ  ลง ย ปัจจัย
หมวด สุ ธาตุ  ลง ณุ ณา ปัจจัย
หมวด กี ธาตุ  ลง นา ปัจจัย
หมวด คห ธาตุ  ลง ณฺหา ปัจจัย
หมวด ตน ธาตุ  ลง โอ ปัจจัย
หมวด จุร ธาตุ  ลง เณ ณย ปัจจัย

ปัจจัยอาขยาต
กัตตุวาจก ลง อ เอ ย … …

วาจก
กัตตุวาจก ยกผู้ทำเป็นประธาน … …

กาลในอาขยาต
ปัจจุบันกาล
1. ปัจจุบันแท้ แปลว่า …อยู่
2. ปัจจุบันใกล้อดีต แปลว่า ย่อม…
3. ปัจจุบันใกล้อนาคต แปลว่า จะ…
อดีตกาล
1. อดีตล่วงแล้วไม่มีกำหนด แปลว่า …แล้ว
2. อดีตล่วงแล้ววานนี้ แปลว่า …แล้ว ถ้ามี อ นำหน้า แปลว่า ได้…แล้ว
3. อดีตล่วงแล้ววันนี้ แปลว่า …แล้ว ถ้ามี อ นำหน้า แปลว่า ได้…แล้ว
อนาคตกาล
1. อนาคตของปัจจุบัน แปลว่า จัก…
2. อนาคตของอดีต แปลว่า จัก…แล้ว ถ้ามี อ นำหน้า แปลว่า จักได้…แล้ว

ความคิดเห็น

Restricted HTML

  • Allowed HTML tags: <a href hreflang> <em> <strong> <cite> <blockquote cite> <code> <ul type> <ol start type> <li> <dl> <dt> <dd> <h2 id> <h3 id> <h4 id> <h5 id> <h6 id>
  • Lines and paragraphs break automatically.
  • Web page addresses and email addresses turn into links automatically.