- ประโยค กัตตุวาจก
(อกัมมธาตุ) สูโท สยติ. พ่อครัว นอนอยู่.
(สกัมมธาตุ) สูโท โอทนํ ปจติ. พ่อครัว หุงอยู่ ซึ่งข้าวสุก. - ประโยค กัมมวาจก (สกัมมธาตุ)
สูเทน โอทโน ปจิยเต. ข้าวสุก อันพ่อครัว หุงอยู่. - ประโยค ภาววาจก (อกัมมธาตุ) (มีกัตตา-ผู้ทำ ลงตติยาวิภัตติ แต่ไม่มีประธาน)
สูเทน สียเต. อันพ่อครัว นอนอยู่. - ประโยค เหตุกัตตุวาจก
(สกัมมธาตุ) สามิโก สูทํ โอทนํ ปาเจติ. นาย ยังพ่อครัว ให้หุงอยู่ ซึ่งข้าวสุก.
(อกัมมธาตุ) สามิโก สูทํ มาเรติ. นาย ยังพ่อครัว ให้ตายอยู่. - ประโยค เหตุกัมมวาจก
(สกัมมธาตุ) สามิเกน สูทํ โอทโน ปาจาปิยเต. ข้าวสุก อันนาย ยังพ่อครัว ให้หุงอยู่.
(สกัมมธาตุ) สามิเกน สูโท โอทนํ ปาจาปิยเต. พ่อครัว อันนาย ให้หุงอยู่ ซึ่งข้าวสุก. (มีใช้ไม่มาก)
(อกัมมธาตุ) สามิเกน สูโท มาราปิยเต. พ่อครัว อันนาย ให้ตายอยู่. - ประโยค ลิงคัตถะ (มีนามศัพท์ ลงปฐมาวิภัตติ แต่ไม่มีกิริยาคุมพากย์ เป็นประโยคทางสัมพันธ์ ไม่นับเป็นประโยคในวาจกทั้ง 5)
พุทฺธสฺส สาวโก. สาวก ของพระพุทธเจ้า.
ดู ผังวาจก (5 วาจก 9 ประโยค) ประกอบ
- ประโยค ถอน (นิทธารณะ)
เทฺว พฺราหฺมณสฺส โคณา, เตสุ เอโก มโต.
โค ท. สอง ของพราหมณ์ (มีอยู่), ในโค ท. สอง เหล่านั้นหนา โค ตัวหนึ่ง ตายแล้ว. - ประโยค วิกติกัมมะ
ปุคฺคโล วิริเยน อตฺตานํ อตฺตโน นาถํ กโรติ.
บุคคล ย่อมกระทำ ซึ่งตน ให้เป็นที่พึ่ง ของตน ด้วยความเพียร. - ประโยค วิกติกัตตาที่เป็นคุณนาม
ราชา อตฺตโน รฏฺเฐ ชนานํ อิสฺสโร โหติ.
พระราชา เป็นใหญ่ แห่งชน ท. ในแว่นแคว้น ของพระองค์ ย่อมเป็น. - ประโยค วิกติกัตตาที่เป็นกิริยาศัพท์
ราชา ชเนหิ มานิโต โหติ.
พระราชา เป็นผู้อันชน ท. นับถือแล้ว ย่อมเป็น. - ประโยค ลักขณะ
รญฺเญ อาคเต, สพฺเพ ชนา ปกฺกมนฺติ.
ครั้นเมื่อพระราชา เสด็จมาแล้ว ชน ท. ทั้งปวง ย่อมหลีกไป. - ประโยค อนาทร
เถรสฺส นิทฺทํ อโนกฺกมนฺตสฺส, อกฺขิมฺหิ โรโค อุปฺปชฺชิ.
เมื่อพระเถระ ไม่ก้าวลงอยู่ สู่ความหลับ โรคในนัยน์ตา เกิดขึ้นแล้ว. - ประโยค ตุํ ปัจจัย เป็นประธาน
มยา ปพฺพชิตุํ วฏฺฏติ. อัน อันเรา บวช ย่อมควร. - ประโยค กึ เป็นประธาน
กึ เม ฆราวาเสน.
ประโยชน์อะไร ด้วยการอยู่ครองซึ่งเรือน (มีอยู่) แก่เรา.
ประโยชน์อะไร ของเรา ด้วยการอยู่ครองซึ่งเรือน. - ประโยค ยุ ปัจจัย เป็นประธาน
ปุญฺญตฺถิกานํ “อยํ เม อตฺโถติ สลฺลกฺเขตฺวา ปุญฺญกรณํ ภาโร โหติ.
อัน กำหนดว่า ประโยชน์นี้ของเรา ดังนี้ แล้วกระทำซึ่งบุญ เป็นภาระ ของบุคคล ท. ผู้มีความต้องการด้วยบุญ ย่อมเป็น. - ประโยค ตั้งชื่อ (วิกติกัมมะ)
ญาตกา ตสฺส "สิทฺธตฺโถติ (วจนํ) นามํ กรึสุ.
พระญาติ ท. กระทำแล้ว ซึ่งคำว่า สิทธัตถะ ดังนี้ ให้เป็นชื่อ แห่งกุมารนั้น. - ประโยค ความคิด
อถสฺส เอตทโหสิ.
ความคิด นั่น (เอตํ จินฺตนํ) ว่า... ดังนี้ ได้มีแล้ว แก่บุรุษนั้น. - ประโยค สกฺกา ที่เป็นภาววาจก
สกฺกา เคหํ อชฺฌาวสนฺเตน ตยา ปุญฺญานิ กาตุํ.
อันท่าน ผู้อยู่ครองซึ่งเรือน อาจเพื่ออันกระทำซึ่งบุญ ท.. - ประโยค สกฺกา ที่เป็นกัมมวาจก
น สกฺกา โส ธมฺโม เกนจิ อคารมชฺเฌ ปูเรตุํ.
ธรรมนั้น อันใครๆ ไม่อาจ เพื่ออันให้เต็ม ในท่ามกลางแห่งเรือนได้. - ประโยค สนทนา
"กาย นุตฺถ ภิกฺขเว เอตรหิ กถาย สนฺนิสินฺนา -อิติ.
(พระศาสดา ตรัสแล้ว ว่า) ดูก่อนภิกษุ ท. เธอ ท. เป็นผู้นั่งประชุมกันแล้ว ด้วยถ้อยคำ* อะไร หนอ ย่อมเป็น** ในกาลนี้ ดังนี้.
"(มยํ เอตรหิ) อิมาย นาม (กถาย สนฺนิสินฺนา อมฺห) -อิติ.
(ครั้นเมื่อคำ) ว่า ข้าพระองค์ ท. เป็นผู้นั่งประชุมกันแล้ว ด้วยถ้อยคำ* ชื่อนี้ ย่อมเป็น** ในกาลนี้ ดังนี้ (อันภิกษุ ท.) กราบทูลแล้ว.
(*แปลออกสาธนะว่า ด้วยวาจาเป็นเครื่องกล่าว ก็ได้ **อตฺถ อส-อ-ถ, อมฺห อส-อ-ม ย่อมมี, ย่อมเป็น)
ประโยค กัตตุวาจก | (อกัมมธาตุ) สูโท สยติ. (สกัมมธาตุ) สูโท โอทนํ ปจติ. |
พ่อครัว นอนอยู่. พ่อครัว หุงอยู่ ซึ่งข้าวสุก. |
ประโยค กัมมวาจก (สกัมมธาตุ) | สูเทน โอทโน ปจิยเต. | ข้าวสุก อันพ่อครัว หุงอยู่. |
ประโยค ภาววาจก (อกัมมธาตุ) (มีกัตตา ผู้ทำ ลงตติยาวิภัตติ แต่ไม่มีประธาน) |
สูเทน สียเต. | อันพ่อครัว นอนอยู่. |
ประโยค เหตุกัตตุวาจก | (สกัมมธาตุ) สามิโก สูทํ โอทนํ ปาเจติ. (อกัมมธาตุ) สามิโก สูทํ มาเรติ. |
นาย ยังพ่อครัว ให้หุงอยู่ ซึ่งข้าวสุก. นาย ยังพ่อครัว ให้ตายอยู่. |
ประโยค เหตุกัมมวาจก | (สกัมมธาตุ) สามิเกน สูทํ โอทโน ปาจาปิยเต. (สกัมมธาตุ) สามิเกน สูโท โอทนํ ปาจาปิยเต. (อกัมมธาตุ) สามิเกน สูโท มาราปิยเต. |
ข้าวสุก อันนาย ยังพ่อครัว ให้หุงอยู่. พ่อครัว อันนาย ให้หุงอยู่ ซึ่งข้าวสุก. (มีใช้ไม่มาก) พ่อครัว อันนาย ให้ตายอยู่. |
ประโยค ลิงคัตถะ (มีนามศัพท์ ลงปฐมาวิภัตติ แต่ไม่มีกิริยาคุมพากย์ เป็นประโยคทางสัมพันธ์ ไม่นับเป็นประโยคในวาจกทั้ง 5) |
พุทฺธสฺส สาวโก. | สาวก ของพระพุทธเจ้า. |
ดู ผังวาจก (5 วาจก 9 ประโยค) ประกอบ |
||
ประโยค ถอน (นิทธารณะ) | เทฺว พฺราหฺมณสฺส โคณา, เตสุ เอโก มโต. | โค ท. สอง ของพราหมณ์ (มีอยู่), ในโค ท. สอง เหล่านั้นหนา โค ตัวหนึ่ง ตายแล้ว. |
ประโยค วิกติกัมมะ | ปุคฺคโล วิริเยน อตฺตานํ อตฺตโน นาถํ กโรติ. | บุคคล ย่อมกระทำ ซึ่งตน ให้เป็นที่พึ่ง ของตน ด้วยความเพียร. |
ประโยค วิกติกัตตาที่เป็นคุณนาม | ราชา อตฺตโน รฏฺเฐ ชนานํ อิสฺสโร โหติ. | พระราชา เป็นใหญ่ แห่งชน ท.ในแว่นแคว้น ของพระองค์ ย่อมเป็น. |
ประโยค วิกติกัตตาที่เป็นกิริยาศัพท์ | ราชา ชเนหิ มานิโต โหติ. | พระราชา เป็นผู้อันชน ท. นับถือแล้ว ย่อมเป็น. |
ประโยค ลักขณะ | รญฺเญ อาคเต, สพฺเพ ชนา ปกฺกมนฺติ. | ครั้นเมื่อพระราชา เสด็จมาแล้ว ชน ท. ทั้งปวง ย่อมหลีกไป. |
ประโยค อนาทร | เถรสฺส นิทฺทํ อโนกฺกมนฺตสฺส, อกฺขิมฺหิ โรโค อุปฺปชฺชิ. | เมื่อพระเถระ ไม่ก้าวลงอยู่ สู่ความหลับ โรคในนัยน์ตา เกิดขึ้นแล้ว. |
ประโยค ตุํ ปัจจัย เป็นประธาน | มยา ปพฺพชิตุํ วฏฺฏติ. | อัน อันเรา บวช ย่อมควร. |
ประโยค กึ เป็นประธาน | กึ เม ฆราวาเสน. | ประโยชน์อะไร ด้วยการอยู่ครองซึ่งเรือน (มีอยู่) แก่เรา. ประโยชน์อะไร ของเรา ด้วยการอยู่ครองซึ่งเรือน. |
ประโยค ยุ ปัจจัย เป็นประธาน | ปุญฺญตฺถิกานํ “อยํ เม อตฺโถติ สลฺลกฺเขตฺวา ปุญฺญกรณํ ภาโร โหติ. | อัน กำหนดว่า ประโยชน์นี้ของเรา ดังนี้ แล้วกระทำซึ่งบุญ เป็นภาระ ของบุคคล ท. ผู้มีความต้องการด้วยบุญ ย่อมเป็น. |
ประโยค ตั้งชื่อ (วิกติกัมมะ) | ญาตกา ตสฺส "สิทฺธตฺโถติ (วจนํ) นามํ กรึสุ. | พระญาติ ท. กระทำแล้ว ซึ่งคำว่า สิทธัตถะ ดังนี้ ให้เป็นชื่อ แห่งกุมารนั้น. |
ประโยค ความคิด | อถสฺส เอตทโหสิ. | ความคิด นั่น (เอตํ จินฺตนํ) ว่า… ดังนี้ ได้มีแล้ว แก่บุรุษนั้น. |
ประโยค สกฺกา ที่เป็นภาววาจก | สกฺกา เคหํ อชฺฌาวสนฺเตน ตยา ปุญฺญานิ กาตุํ. | อันท่าน ผู้อยู่ครองซึ่งเรือน อาจเพื่ออันกระทำซึ่งบุญ ท. |
ประโยค สกฺกา ที่เป็นกัมมวาจก | น สกฺกา โส ธมฺโม เกนจิ อคารมชฺเฌ ปูเรตุํ. | ธรรมนั้น อันใครๆ ไม่อาจ เพื่ออันให้เต็ม ในท่ามกลางแห่งเรือนได้. |
ประโยค สนทนา | "กาย นุตฺถ ภิกฺขเว เอตรหิ กถาย สนฺนิสินฺนา -อิติ. "(มยํ เอตรหิ) อิมาย นาม (กถาย สนฺนิสินฺนา อมฺห) -อิติ |
(พระศาสดา ตรัสแล้ว ว่า) ดูก่อนภิกษุ ท. เธอ ท. เป็นผู้นั่งประชุมกันแล้ว ด้วยถ้อยคำ* อะไร หนอ ย่อมเป็น** ในกาลนี้ ดังนี้. (ครั้นเมื่อคำ) ว่า ข้าพระองค์ ท. เป็นผู้นั่งประชุมกันแล้ว ด้วยถ้อยคำ* ชื่อนี้ ย่อมเป็น** ในกาลนี้ ดังนี้ (อันภิกษุ ท.) กราบทูลแล้ว. (*แปลออกสาธนะว่า ด้วยวาจาเป็นเครื่องกล่าว ก็ได้ **อตฺถ อส-อ-ถ, อมฺห อส-อ-ม ย่อมมี, ย่อมเป็น) |
ความคิดเห็น