1 | 1 | อตฺโถ อกฺขรสญฺญาโต. |
2 | 2 | อกฺขราปาทโย เอกจตฺตาฬีสํ. |
3 | 3 | ตตฺโถทนฺตา สรา อฏฺฐ. |
4 | 4 | ลหุมตฺตา ตโย รสฺสา. |
5 | 5 | อญฺเญ ทีฆา. |
6 | 8 | เสสา พฺยญฺชนา. |
7 | 9 | วคฺคา ปญฺจปญฺจโส มนฺตา. |
8 | 10 | อํอิติ นิคฺคหีตํ. |
9 | 11 | ปรสมญฺญา ปโยเค. |
10 | 12 | ปุพฺพมโธฐิตมสฺสรํ สเรน วิโยชเย. |
11 | 14 | นเย ปรํ ยุตฺเต. |
อิติ สนฺธิกปฺเป ปฐโม กณฺโฑ
|
||
12 | 13 | สรา สเร โลปํ. |
13 | 15 | วา ปโร อสรูปา. |
14 | 16 | กฺวจาสวณฺณํ ลุตฺเต. |
15 | 17 | ทีฆํ. |
16 | 18 | ปุพฺโพ จ. |
17 | 19 | ยเมทนฺตสฺสาเทโส. |
18 | 20 | วโมทุทนฺตานํ. |
19 | 22 | สพฺโพ จํ ติ. |
20 | 27 | โท ธสฺส จ. |
21 | 21 | อิวณฺโณ ยํ นวา. |
22 | 28 | เอวาทิสฺส ริ ปุพฺโพ จ รสฺโส. |
อิติ สนฺธิกปฺเป ทุติโย กณฺโฑ.
|
||
23 | 36 | สรา ปกติ พฺยญฺชเน. |
24 | 35 | สเร กฺวจิ. |
25 | 37 | ทีฆํ. |
26 | 38 | รสฺสํ. |
27 | 39 | โลปญฺจ ตตฺรากาโร. |
28 | 40 | ปรเทฺวภาโว ฐาเน. |
29 | 42 | วคฺเค โฆสาโฆสานํ ตติยปฐมา. |
อิติ สนฺธิกปฺเป ตติโย กณฺโฑ.
|
||
30 | 58 | อํ พฺยญฺชเน นิคฺคหีตํ. |
31 | 49 | วคฺคนฺตํ วา วคฺเค. |
32 | 50 | เอเห ญํ. |
33 | 51 | ส เย จ. |
34 | 52 | มทา สเร. |
35 | 34 | ย ว ม ท น ต ร ลา จาคมา. |
36 | 47 | กฺวจิ โอ พฺยญฺชเน. |
37 | 57 | นิคฺคหีตญฺจ. |
38 | 53 | กฺวจิ โลปํ. |
39 | 54 | พฺยญฺชเน จ. |
40 | 55 | ปโร วา สโร. |
41 | 56 | พฺยญฺชโน จ วิสญฺโญโค. |
อิติ สนฺธิกปฺเป จตุตฺโถ กณฺโฑ.
|
||
42 | 32 | โค สเร ปุถสฺสาคโม กฺวจิ. |
43 | 33 | ปาสฺส จนฺโต รสฺโส. |
44 | 24 | อพฺโภ อภิ. |
45 | 25 | อชฺโฌ อธิ. |
46 | 26 | เต น วา อิวณฺเณ. |
47 | 23 | อติสฺส จนฺตสฺส. |
48 | 43 | กฺวจิ ปฏิ ปติสฺส. |
49 | 44 | ปุถสฺสุ พฺยญฺชเน. |
50 | 45 | โอ อวสฺส. |
51 | 59 | อนุปทิฏฺฐานํ วุตฺตโยคโต. |
อิติ สนฺธิกปฺเป ปญฺจโม กณฺโฑ.
|
||
2. นามกปฺโป | ||
52 | 60 | ชินวจนยุตฺตํ หิ. |
53 | 61 | ลิงฺคญฺจ นิปจฺจเต. |
54 | 62 | ตโต จ วิภตฺติโย. |
55 | 63 | สิ โย, อํ โย, นา หิ, ส นํ, สฺมา หิ, ส นํ, สฺมึ สุ. |
56 | 64 | ตทนุปโรเธน. |
57 | 71 | อาลปเน สิ คสญฺโญ. |
58 | 29 | อิวณฺณุวณฺณา ฌลา. |
59 | 182 | เต อิตฺถิขฺยา โป. |
60 | 177 | อา โฆ. |
61 | 81 | สาคโม เส. |
62 | 206 | สํสาเสฺวกวจเนสุ จ. |
63 | 217 | เอติมาสมิ. |
64 | 216 | ตสฺสา วา. |
65 | 215 | ตโต สสฺส สฺสาย. |
66 | 205 | โฆ รสฺสํ. |
67 | 229 | โน จ ทฺวาทิโต นํมฺหิ. |
68 | 184 | อมา ปโต สฺมึสฺมานํ วา. |
69 | 186 | อาทิโต โอ จ. |
70 | 30 | ฌลานมิยุวา สเร วา. |
71 | 489 | ยวการา จ. |
72 | 185 | ปสญฺญสฺส จ. |
73 | 174 | คาว เส. |
74 | 169 | โยสุ จ. |
75 | 170 | อวํมฺหิ จ. |
76 | 171 | อาวสฺสุ วา. |
77 | 175 | ตโต นมํ ปติมฺหาลุตฺเต จ สมาเส. |
78 | 31 | โอ สเร จ. |
79 | 46 | ตพฺพิปรีตูปปเท พฺยญฺชเน จ. |
80 | 173 | โคณ นํมฺหิ วา. |
81 | 172 | สุหินาสุ จ. |
82 | 149 | อํโม นิคฺคหีตํ ฌลเปหิ. |
83 | 67 | สรโลโปมาเทสปจฺจยาทิมฺหิ สรโลเป ตุ ปกติ. |
84 | 144 | อโฆ รสฺสเมกวจนโยสฺวปิ จ. |
85 | 150 | น สิสฺมิมนปุํสกานิ. |
86 | 227 | อุภาทิโต นมินฺนํ. |
87 | 231 | อิณฺณมิณฺณนฺนํ ตีหิ สงฺขฺยาหิ. |
88 | 147 | โยสุ กตนิการโลเปสุ ทีฆํ. |
89 | 87 | สุนํหิสุ จ. |
90 | 252 | ปญฺจาทีนมตฺตํ. |
91 | 194 | ปติสฺสินีมฺหิ. |
92 | 100 | นฺตุสฺสนฺโต โยสุ จ. |
93 | 106 | สพฺพสฺส วา อํเสสุ. |
94 | 105 | สิมฺหิ วา. |
95 | 145 | อคฺคิสฺสินิ. |
96 | 148 | โยสฺวกตรสฺโส โฌ. |
97 | 156 | เวโวสุ โล จ. |
98 | 189 | มาตุลาทีนมานตฺตมีกาเร. |
99 | 81 | สฺมาหิสฺมึนํ มฺหาภิมฺหิ วา. |
100 | 214 | น ติเมหิ กตากาเรหิ. |
101 | 80 | สุหิสฺวกาโร เอ. |
102 | 202 | สพฺพนามานํ นํมฺหิ จ. |
103 | 79 | อโต เนน. |
104 | 66 | โส. |
105 | 0 | โส วา. |
106 | 302 | ทีโฆเรหิ. |
107 | 69 | สพฺพโยนีนมาเอ. |
108 | 90 | สฺมาสฺมึนํ วา. |
109 | 295 | อาย จตุตฺเถกวจนสฺส ตุ. |
110 | 201 | ตโย เนว จ สพฺพนาเมหิ. |
111 | 179 | ฆโต นาทีนํ. |
112 | 183 | ปโต ยา. |
113 | 132 | สขโต คสฺเส วา. |
114 | 178 | ฆเต จ. |
115 | 181 | น อมฺมาทิโต. |
116 | 157 | อกตรสฺสา ลโต ยฺวาลปนสฺส เวโว. |
117 | 124 | ฌลโต สสฺส โน วา. |
118 | 146 | ฆปโต จ โยนํ โลโป. |
119 | 155 | ลโต โวกาโร จ. |
อิติ นามกปฺเป ปฐโม กณฺโฑ.
|
||
120 | 243 | อมฺหสฺส มมํ สวิภตฺติสฺส เส. |
121 | 233 | มยํ โยมฺหิ ปฐเม. |
122 | 99 | นฺตุสฺส นฺโต. |
123 | 103 | นฺตสฺส เส วา. |
124 | 98 | อา สิมฺหิ. |
125 | 198 | อํ นปุํสเก. |
126 | 101 | อวณฺณา จ เค. |
127 | 102 | โตติตา สสฺมึนาสุ. |
128 | 104 | นํมฺหิ ตํ วา. |
129 | 0.22 | อิมสฺสิทมํสิสุ นปุํสเก. |
130 | 225 | อมุสฺสาทุํ. |
131 | 0 | อิตฺถิปุมนปุํสกสงฺขฺยํ. |
132 | 228 | โยสุ ทฺวินฺนํ เทฺว จ. |
133 | 230 | ติ จตุนฺนํ ติสฺโส จตสฺโส ตโย จตฺตาโร ตีณิ จตฺตาริ. |
134 | 251 | ปญฺจาทีนมกาโร. |
135 | 118 | ราชสฺส รญฺโญราชิโน เส. |
136 | 119 | รญฺญํ นํมฺหิ วา. |
137 | 116 | นามฺหิ รญฺญา วา. |
138 | 121 | สฺมึมฺหิ รญฺเญ ราชินิ. |
139 | 245 | ตุมฺหมฺหากํ ตยิ มยิ. |
140 | 232 | ตฺวมหํ สิมฺหิ จ. |
141 | 241 | ตว มม เส. |
142 | 242 | ตุยฺหํ มยฺหญฺจ. |
143 | 235 | ตํ มมํมฺหิ. |
144 | 234 | ตวํ มมญฺจ นวา. |
145 | 238 | นามฺหิ ตยา มยา. |
146 | 236 | ตุมฺหสฺส ตุวํ ตฺวมํมฺหิ. |
147 | 246 | ปทโต ทุติยาจตุตฺถีฉฏฺฐีสุ โว โน. |
148 | 247 | เตเมกวจเนสุ จ. |
149 | 248 | น อํมฺหิ. |
150 | 249 | วา ตติเย จ. |
151 | 250 | พหุวจเนสุ โวโน. |
152 | 136 | ปุมนฺตสฺสา สิมฺหิ. |
153 | 138 | อมาลปเนกวจเน. |
154 | 0 | สมาเส จ วิภาสา. |
155 | 137 | โยสฺวาโน. |
156 | 142 | อาเน สฺมึมฺหิ วา. |
157 | 140 | หิวิภตฺติมฺหิ จ. |
158 | 143 | สุสฺมิมา วา. |
159 | 139 | อุ นามฺหิ จ. |
160 | 197 | อกมฺมนฺตสฺส จ. |
อิติ นามกปฺเป ทุติโย กณฺโฑ.
|
||
161 | 244 | ตุมฺหมฺเหหิ นมากํ. |
162 | 237 | วา ยฺวปฺปฐโม. |
163 | 240 | สสฺสํ. |
164 | 200 | สพฺพนามการเต ปฐโม. |
165 | 208 | ทฺวนฺทฏฺฐา วา. |
166 | 209 | นาญฺญํ สพฺพนามิกํ. |
167 | 210 | พหุพฺพีหิมฺหิ จ. |
168 | 203 | สพฺพโต นํ สํสานํ. |
169 | 117 | ราชสฺส ราชุ สุนํหิสุ จ. |
170 | 220 | สพฺพสฺสิมสฺเส วา. |
171 | 219 | อนิมิ นามฺหิ จ. |
172 | 218 | อนปุํสกสฺสายํ สิมฺหิ. |
173 | 223 | อมุสฺส โม สํ. |
174 | 211 | เอตเตสํ โต. |
175 | 212 | ตสฺส วา นตฺตํ สพฺพตฺถ. |
176 | 213 | สสฺมาสฺมึ สํสาสวตฺตํ. |
177 | 221 | อิมสทฺทสฺส จ. |
178 | 224 | สพฺพโต โก. |
179 | 204 | ฆปโต สฺมึสานํ สํสา. |
180 | 207 | เนตาหิ สฺมิมายยา. |
181 | 95 | มโนคณาทิโต สฺมึนานมิอา. |
182 | 97 | สสฺส โจ. |
183 | 48 | เอเตสโม โลเป. |
184 | 96 | ส สเร วาคโม. |
185 | 112 | สนฺตสทฺทสฺส โส เภ โพ จนฺเต. |
186 | 107 | สิมฺหิ คจฺฉนฺตาทีนํ นฺตสทฺโท อํ. |
187 | 108 | เสเสสุ นฺตุว. |
188 | 155 | พฺรหฺมตฺตสขราชาทิโต อมานํ. |
189 | 113 | สฺยา จ. |
190 | 114 | โยนมาโน. |
191 | 130 | สขโต จาโยโน. |
192 | 135 | สฺมิเม. |
193 | 122 | พฺรหฺมโต คสฺส จ. |
194 | 131 | สขนฺตสฺสิ โนนานํเสสุ. |
195 | 134 | อาโร หิมฺหิ วา. |
196 | 133 | สุนมํสุ วา. |
197 | 125 | พฺรหฺมโต ตุ สฺมึ นิ. |
198 | 123 | อุตฺตํ สนาสุ. |
199 | 158 | สตฺถุปิตาทีนมา สิสฺมึ สิโลโป จ. |
200 | 159 | อญฺเญสฺวารตฺตํ. |
201 | 163 | วา นํมฺหิ. |
202 | 164 | สตฺถุนตฺตญฺจ. |
203 | 162 | อุ สสฺมึ สโลโป จ. |
204 | 167 | สกมนฺธาตาทีนญฺจ. |
205 | 160 | ตโต โยนโม ตุ. |
206 | 165 | ตโต สฺมิมิ. |
207 | 161 | นา อา. |
208 | 166 | อาโร รสฺสมิกาเร. |
209 | 168 | ปิตาทีนมสิมฺหิ. |
210 | 239 | ตยาตยีนํ ตกาโร ตฺวตฺตํ วา. |
อิติ นามกปฺเป ตติโย กณฺโฑ.
|
||
211 | 126 | อตฺตนฺโต หิสฺมิมนตฺตํ. |
212 | 129 | ตโต สฺมึ นิ. |
213 | 127 | สสฺส โน. |
214 | 128 | สฺมา นา. |
215 | 141 | ฌลโต จ. |
216 | 180 | ฆปโต สฺมึ ยํ วา. |
217 | 199 | โยนํ นิ นปุ ํสเกหิ. |
218 | 196 | อโต นิจฺจํ. |
219 | 195 | สึ. |
220 | 74 | เสสโต โลปํ คสิปิ. |
221 | 282 | สพฺพาสมาวุโสปสคฺคนิปาตาทีหิ จ. |
222 | 327 | ปุมสฺส ลิงฺคาทีสุ สมาเสสุ. |
223 | 188 | อํยมีโต ปสญฺญโต. |
224 | 153 | นํ ฌโต กตรสฺสา. |
225 | 151 | โยนํ โน. |
226 | 154 | สฺมึ นิ. |
227 | 270 | กิสฺส ก เว จ. |
228 | 272 | กุ หึหํสุ จ. |
229 | 226 | เสเสสุ จ. |
230 | 262 | ตฺรโตเถสุ จ. |
231 | 263 | สพฺพสฺเสตสฺสากาโร วา. |
232 | 267 | เตฺร นิจฺจํ. |
233 | 264 | เอ โตเถสุ จ. |
234 | 265 | อิมสฺสิ ถํทานิหโตเธสุ จ. |
235 | 281 | อ ธุนามฺหิ จ. |
236 | 280 | เอต รหิมฺหิ. |
237 | 176 | อิตฺถิยมโต อาปจฺจโย. |
238 | 187 | นทาทิโต วา อี. |
239 | 190 | ณว ณิก เณยฺย ณ นฺตูหิ. |
240 | 193 | ปติภิกฺขุราชีการนฺเตหิ อินี. |
241 | 191 | นฺตุสฺส ตมีกาเร. |
242 | 192 | ภวโต โภโต. |
243 | 110 | โภ เค ตุ. |
244 | 72 | อการปิตาทฺยนฺตานมา. |
245 | 152 | ฌลปา รสฺสํ. |
246 | 73 | อากาโร วา. |
อิติ นามกปฺเป จตุตฺโถ กณฺโฑ.
|
||
247 | 261 | ตฺวาทโย วิภตฺติสญฺญาโย. |
248 | 260 | กฺวจิ โต ปญฺจมฺยตฺเถ. |
249 | 266 | ตฺรถ สตฺตมิยา สพฺพนาเมหิ. |
250 | 268 | สพฺพโต ธิ. |
251 | 269 | กึสฺมา โว. |
252 | 271 | หึหํหิญฺจนํ. |
253 | 273 | ตมฺหา จ. |
254 | 274 | อิมสฺมา หธา จ. |
255 | 275 | ยโต หึ. |
256 | 0 | กาเล. |
257 | 276 | กึสพฺพญฺเญกยกุหิ ทาทาจนํ. |
258 | 278 | ตมฺหา ทานิ จ. |
259 | 279 | อิมสฺมา รหิธุนาทานิ จ. |
260 | 277 | สพฺพสฺส โส ทามฺหิ วา. |
261 | 369 | อวณฺโณ เย โลปญฺจ. |
262 | 391 | วุฑฺฒสฺส โช อิยิฏฺเฐสุ. |
263 | 392 | ปสตฺถสฺส โส จ. |
264 | 393 | อนฺติกสฺส เนโท. |
265 | 394 | พาฬฺหสฺส สาโธ. |
266 | 395 | อปฺปสฺส กณฺ. |
267 | 396 | ยุวานญฺจ. |
268 | 397 | วนฺตุมนฺตุวีนญฺจ โลโป. |
269 | 41 | ยวตํ ตลนทการานํ พฺยญฺชนานิ จลญชการตฺตํ. |
270 | 120 | อมฺห ตุมฺห นฺตุ ราช พฺรหฺมตฺต สข สตฺถุ ปิตาทีหิ สฺมา นา ว. |
อิติ นามกปฺเป ปญฺจโม กณฺโฑ.
|
||
3. การกกปฺโป |
||
271 | 88 (308) | ยสฺมาทเปติ ภยมาทตฺเต วา ตทปาทานํ. |
272 | 308 | ธาตุนามานมุปสคฺคโยคาทีสฺวปิ จ. |
273 | 310 | รกฺขณตฺถานมิจฺฉิตํ. |
274 | 311 | เยน วาทสฺสนํ. |
275 | 312 | ทูรนฺติกทฺธกาลนิมฺมานตฺวาโลปทิสาโยควิภตฺตารปฺปโยคสุทฺธปฺปโมจนเหตุวิวิตฺตปฺปมาณปุพฺพโยคพนฺธนคุณวจนปญฺหกถนโถกากตฺตูสุ จ. |
276 | 84 (302) | ยสฺส ทาตุกาโม โรจเต ธารยเต วา ตํ สมฺปทานํ. |
277 | 303 | สิลาฆหนุฐาสปธารปิหกุธทุหิสฺโสสูยราธิกฺขปจฺจาสุณ อนุปติคิณ ปุพฺพกตฺตาโรจนตฺถตทตฺถตุมตฺถาลมตฺถ มญฺญานาทรปฺปาณินิคตฺยตฺถกมฺมนิ อาสิสตฺถสมฺมุติ ภิยฺยสตฺตมฺยตฺเถสุ จ. |
278 | 93 (320) | โยธาโร ตโมกาสํ. |
279 | 82 (292) | เยน วา กยิรเต ตํ กรณํ. |
280 | 79 (285) | ยํ กโรติ ตํ กมฺมํ. |
281 | 77 (294) | โย กโรติ ส กตฺตา. |
282 | 295 | โย กาเรติ ส เหตุ. |
283 | 316 | ยสฺส วา ปริคฺคโห ตํ สามี. |
284 | 283 | ลิงฺคตฺเถ ปฐมา. |
285 | 70 | อาลปเน จ. |
286 | 291 | กรเณ ตติยา. |
287 | 296 | สหาทิโยเค จ. |
288 | 293 | กตฺตริ จ. |
289 | 297 | เหตฺวตฺเถ จ. |
290 | 298 | สตฺตมฺยตฺเถ จ. |
291 | 299 | เยนงฺควิกาโร. |
292 | 300 | วิเสสเน จ. |
293 | 301 | สมฺปทาเน จตุตฺถี. |
294 | 305 | นโมโยคาทีสฺวปิ จ. |
295 | 307 | อปาทาเน ปญฺจมี. |
296 | 314 | การณตฺเถ จ. |
297 | 284 | กมฺมตฺเถ ทุติยา. |
298 | 287 | กาลทฺธานมจฺจนฺตสํโยเค. |
299 | 288 | กมฺมปฺปวจนียยุตฺเต. |
300 | 286 | คติ พุทฺธิ ภุช ปฐ หร กร สฺยาทีนํ การิเต วา. |
301 | 315 | สามิสฺมึ ฉฏฺฐี. |
302 | 319 | โอกาเส สตฺตมี. |
303 | 321 | สามิสฺสราธิปติ ทายาท สกฺขี ปติภู ปสุต กุสเลหิ จ |
304 | 322 | นิทฺธารเณ จ. |
305 | 323 | อนาทเร จ. |
306 | 289 | กฺวจิ ทุติยา ฉฏฺฺฐีนมตฺเถ. |
307 | 290 | ตติยาสตฺตมีนญฺจ. |
308 | 317 | ฉฏฺฐี จ. |
309 | 318 | ทุติยาปญฺจมีนญฺจ. |
310 | 324 | กมฺมกรณนิมิตฺตตฺเถสุ สตฺตมี. |
311 | 325 | สมฺปทาเน จ. |
312 | 326 | ปญฺจมฺยตฺเถ จ. |
313 | 327 | กาลภาเวสุ จ. |
314 | 328 | อุปธฺยาธิกิสฺสรวจเน. |
315 | 329 | มณฺฑิตุสฺสุกฺเกสุ ตติยา จ. |
อิติ นามกปฺเป การกกปฺโป
|
||
4. สมาสกปฺโป | ||
316 | 331 | นามานํ สมาโส ยุตฺตตฺโถ. |
317 | 332 | เตสํ วิภตฺติโย โลปา จ. |
318 | 333 | ปกติ จสฺส สรนฺตสฺส. |
319 | 330 | อุปสคฺคนิปาตปุพฺพโก อพฺยยีภาโว. |
320 | 335 | โส นปุ ํสกลิงฺโค. |
321 | 349 | ทิคุสฺเสกตฺตํ. |
322 | 359 | ตถา ทฺวนฺเท ปาณิ ตูริย โยคฺค เสนงฺค ขุทฺท ชนฺตุกวิวิธ วิรุทฺธวิสภาคตฺถาทีนญฺจ. |
323 | 360 | วิภาสา รุกฺข ติณ ปสุ ธน ธญฺญ ชนปทาทีนญฺจ. |
324 | 339 | ทฺวิปเท ตุลฺยาธิกรเณ กมฺมธารโย. |
325 | 348 | สงฺขฺยาปุพฺโพ ทิคุ. |
326 | 341 | อุเภ ตปฺปุริสา. |
327 | 351 | อมาทโย ปรปเทภิ. |
328 | 352 | อญฺญปทตฺเถสุ พหุพฺพีหิ. |
329 | 357 | นามานํ สมุจฺจโย ทฺวนฺโท. |
330 | 340 | มหตํ มหา ตุลฺยาธิกรเณ ปเท. |
331 | 353 | อิตฺถิยํ ภาสิตปุมิตฺถี ปุมาว เจ. |
332 | 343 | กมฺมธารยสญฺเญ จ. |
333 | 344 | อตฺตํ นสฺส ตปฺปุริเส. |
334 | 345 | สเร อนฺ. |
335 | 346 | กทฺ กุสฺส. |
336 | 347 | กาปฺปตฺเถสุ จ. |
337 | 350 | กฺวจิ สมาสนฺตคตานมการนฺโต. |
338 | 356 | นทิมฺหา จ. |
339 | 358 | ชายาย ตุทํ ชานิ ปติมฺหิ. |
340 | 355 | ธนุมฺหา จ. |
341 | 336 | อํ วิภตฺตีนมการนฺตา อพฺยยีภาวา. |
342 | 337 | สโร รสฺโส นปุํสเก. |
343 | 338 | อญฺญสฺมา โลโป จ. |
อิติ นามกปฺเป สมาสกปฺโป สตฺตโม กณฺโฑ. |
||
5. ตทฺธิตกปฺโป |
||
344 | 361 | วา ณปจฺเจ. |
345 | 366 | ณายน ณาน วจฺฉาทิโต. |
346 | 367 | เณยฺโย กตฺติกาทีหิ. |
347 | 368 | อโต ณิ วา. |
348 | 371 | ณโว ปคฺวาทีหิ. |
349 | 372 | เณร วิธวาทิโต. |
350 | 373 | เยน วา สํสฏฺฐํ ตรติ จรติ วหติ ณิโก. |
351 | 374 | ตมธีเต เตนกตาทิ สนฺนิธาน นิโยค สิปฺป ภณฺฑชีวิกตฺเถสุ จ. |
352 | 376 | ณ ราคา ตสฺเสทมญฺญตฺเถสุ จ. |
353 | 378 | ชาตาทีนมิมิยา จ. |
354 | 379 | สมูหตฺเถ กณฺ ณา. |
355 | 380 | คาม ชน พนฺธุ สหายาทีหิ ตา. |
356 | 381 | ตทสฺส ฐานมิโย จ. |
357 | 382 | อุปมตฺถายิตตฺตํ. |
358 | 383 | ตนฺนิสฺสิตตฺเถ โล. |
359 | 384 | อาลุ ตพฺพหุเล. |
360 | 387 | ณฺย ตฺต ตา ภาเว ตุ. |
361 | 388 | ณ วิสมาทีหิ. |
362 | 389 | รมณียาทิโต กณฺ. |
363 | 390 | วิเสเส ตรตมิสิกิยิฏฺฐา. |
364 | 398 | ตทสฺสตฺถีติ วี จ. |
365 | 399 | ตปาทิโต สี. |
366 | 400 | ทณฺฑาทิโต อิกอี. |
367 | 401 | มธฺวาทิโต โร. |
368 | 402 | คุณาทิโต วนฺตุ. |
369 | 403 | สตฺยาทีหิ มนฺตุ. |
370 | 405 | สทฺธาทิโต ณ. |
371 | 404 | อายุสฺสุการาส มนฺตุมฺหิ. |
372 | 385 | ตปฺปกติวจเน มโย. |
373 | 406 | สงฺขฺยาปูรเณ โม. |
374 | 408 | ส ฉสฺส วา. |
375 | 412 | เอกาทิโต ทสสฺสี. |
376 | 257 | ทเส โส นิจฺจญฺจ. |
377 | 0 | อนฺเต นิคฺคหีตญฺจ. |
378 | 414 | ติ จ. |
379 | 258 | ล ทรานํ. |
380 | 255 | วีสติทเสสุ พา ทฺวิสฺส ตุ. |
381 | 254 | เอกาทิโต ทสฺส ร สงฺขฺยาเน. |
382 | 259 | อฏฺฐาทิโต จ. |
383 | 253 | เทฺวกฏฺฐานมากาโร วา. |
384 | 407 | จตุจฺเฉหิ ถฐา. |
385 | 409 | ทฺวิตีหิ ติโย. |
386 | 410 | ติเย ทุตาปิ จ. |
387 | 411 | เตสมฑฺฒูปปเทน อฑฺฒุฑฺฒ ทิวฑฺฒ ทิยฑฺฒฑฺฒติยา. |
388 | 68 | สรูปานเมกเสสฺวสกึ. |
389 | 413 | คณเน ทสสฺส ทฺวิ ติ จตุ ปญฺจ ฉ สตฺต อฏฺฐ นวกานํ วี ติ จตฺตารปญฺญา ฉ สตฺตาสนวา โยสุ โยนญฺจีสมาสํ ฐิ ริ ตี ตุติ. |
390 | 256 | จตูปปทสฺส โลโป ตุตฺตรปทาทิจสฺส จุ โจปิ นวา. |
391 | 423 | ยทนุปปนฺนา นิปาตนา สิชฺฌนฺติ. |
392 | 418 | ทฺวาทิโต โกเนกตฺเถ จ. |
393 | 415 | ทสทสกํ สตํ ทสกานํ สตํ สหสฺสญฺจ โยมฺหิ. |
394 | 416 | ยาว ตทุตฺตริ ทสคุณิตญฺจ. |
395 | 417 | สกนาเมหิ. |
396 | 363 | เตสํ โณ โลปํ. |
397 | 420 | วิภาเค ธา จ. |
398 | 421 | สพฺพนาเมหิ ปการวจเน ตุ ถา. |
399 | 422 | กิมิเมหิ ถํ. |
400 | 364 | วุทฺธาทิสรสฺส วาสํโยคนฺตสฺส สเณ จ. |
401 | 375 | มายูนมาคโม ฐาเน. |
402 | 377 | อาตฺตญฺจ. |
403 | 354 | กฺวจาทิมชฺฌุตฺตรานํ ทีฆรสฺสา ปจฺจเยสุ จ. |
404 | 370 | เตสุ วุทฺธิ โลปาคม วิการ วิปรีตาเทสา จ. |
405 | 365 | อยุวณฺณานญฺจาโย วุทฺธี. |
อิติ นามกปฺเป ตทฺธิตกปฺโป
|
||
6. อาขฺยาตกปฺโป |
||
406 | 429 | อถ ปุพฺพานิ วิภตฺตีนํ ฉ ปรสฺสปทานิ. |
407 | 439 | ปราณฺยตฺตโนปทานิ. |
408 | 431 | เทฺว เทฺว ปฐมมชฺฌิมุตฺตมปุริสา. |
409 | 441 | สพฺเพสเมกาภิธาเน ปโร ปุริโส. |
410 | 432 | นามมฺหิ ปยุชฺชมาเนปิ ตุลฺยาธิกรเณ ปฐโม. |
411 | 436 | ตุมฺเห มชฺฌิโม. |
412 | 437 | อมฺเห อุตฺตโม. |
413 | 426 | กาเล. |
414 | 428 | วตฺตมานา ปจฺจุปฺปนฺเน. |
415 | 451 | อาณตฺยาสิฏฺเฐนุตฺตกาเล ปญฺจมี. |
416 | 454 | อนุมติปริกปฺปตฺเถสุ สตฺตมี. |
417 | 460 | อปจฺจกฺเข ปโรกฺขาตีเต. |
418 | 456 | หิยฺโยปภุติ ปจฺจกฺเข หิยฺยตฺตนี. |
419 | 469 | สมีเปชฺชตนี. |
420 | 471 | มาโยเค สพฺพกาเล จ. |
421 | 473 | อนาคเต ภวิสฺสนฺตี. |
422 | 475 | กฺริยาติปนฺเนตีเต กาลาติปตฺติ. |
423 | 426 | วตฺตมานา ติ อนฺติ, สิ ถ, มิ ม, เต อนฺเต, เส เวฺห, เอ เมฺห. |
424 | 450 | ปญฺจมี ตุ อนฺตุ, หิ ถ, มิ ม, ตํ อนฺตํ, สฺสุ โวฺห, เอ อามเส. |
425 | 453 | สตฺตมี เอยฺย เอยฺยุํ, เอยฺยาสิ เอยฺยาถ, เอยฺยามิ เอยฺยาม, เอถ เอรํ, เอโถ เอยฺยาโวฺห, เอยฺยํ เอยฺยาเมฺห. |
426 | 459 | ปโรกฺขา อ อุ, เอ ตฺถ, อํ มฺห, ตฺถ เร, ตฺโถ โวฺห, อึ เมฺห. |
427 | 455 | หิยฺยตฺตนี อา อู, โอ ตฺถ, อํ มฺหา, ตฺถ ตฺถุํ, เส วฺหํ, อึ มฺหเส. |
428 | 468 | อชฺชตนี อี อุํ, โอ ตฺถ, อึ มฺหา, อา อู, เส วฺหํ, อํ เมฺห. |
429 | 472 | ภวิสฺสนฺตี สฺสติ สฺสนฺติ, สฺสสิ สฺสถ, สฺสามิ สฺสาม, สฺสเต สฺสนฺเต, สฺสเส สฺสเวฺห, สฺสํ สฺสาเมฺห. |
430 | 474 | กาลาติปตฺติ สฺสา สฺสํสุ, สฺเส สฺสถ, สฺสํ สฺสามฺหา, สฺสถ สฺสิสุ, สฺสเส สฺสเวฺห, สฺสึ สฺสามฺหเส. |
431 | 458 | หิยฺยตฺตนี สตฺตมี ปญฺจมี วตฺตมานา สพฺพธาตุกํ. |
อิติ อาขฺยาตกปฺเป ปฐโม กณฺโฑ.
|
||
432 | 362 | ธาตุลิงฺเคหิ ปรา ปจฺจยา. |
433 | 528 | ติช คุป กิต มาเนหิ ข ฉ สา วา. |
434 | 534 | ภุช ฆส หร สุ ปาทีหิ ตุมิจฺฉตฺเถสุ. |
435 | 536 | อาย นามโต กตฺตูปมานาทาจาเร. |
436 | 537 | อียูปมานา จ. |
437 | 538 | นามมฺหาตฺติจฺฉตฺเถ. |
438 | 540 | ธาตูหิ เณ ณย ณาเป ณาปยา การิตานิ เหตฺวตฺเถ. |
439 | 539 | ธาตุรูเป นามสฺมา ณโย จ. |
440 | 445 | ภาวกมฺเมสุ โย. |
441 | 447 | ตสฺส จวคฺคยการวการตฺตํ สธาตฺวนฺตสฺส. |
442 | 448 | อิวณฺณาคโม วา. |
443 | 449 | ปุพฺพรูปญฺจ. |
444 | 511 | ตถา กตฺตริ จ. |
445 | 433 | ภูวาทิโต อ. |
446 | 509 | รุธาทิโต นิคฺคหีตปุพฺพญฺจ. |
447 | 510 | ทิวาทิโต โย. |
448 | 512 | สฺวาทิโต ณุ ณา อุณา จ. |
449 | 513 | กิยาทิโต นา. |
450 | 517 | คหาทิโต ปฺป ณฺหา. |
451 | 520 | ตนาทิโต โอ ยิรา. |
452 | 525 | จุราทิโต เณ ณยา. |
453 | 444 | อตฺตโนปทานิ ภาเว จ กมฺมนิ. |
454 | 440 | กตฺตริ จ. |
455 | 530 | ธาตุปฺปจฺจเยหิ วิภตฺติโย. |
456 | 430 | กตฺตริ ปรสฺสปทํ. |
457 | 424 | ภูวาทโย ธาตโว. |
อิติ อาขฺยาตกปฺเป ทุติโย กณฺโฑ.
|
||
458 | 461 | กฺวจาทิวณฺณานเมกสฺสรานํ เทฺวภาโว. |
459 | 462 | ปุพฺโพพฺภาโส. |
460 | 506 | รสฺโส. |
461 | 464 | ทุติยจตุตฺถานํ ปฐมตติยา. |
462 | 467 | กวคฺคสฺส จวคฺโค. |
463 | 532 | มานกิตานํ วตตฺตํ วา. |
464 | 504 | หสฺส โช. |
465 | 463 | อนฺตสฺสิวณฺณากาโร วา. |
466 | 489 | นิคฺคหีตญฺจ. |
467 | 533 | ตโต ปามานานํ วามํ เสสุ. |
468 | 492 | ฐา ติฏฺโฐ. |
469 | 494 | ปา ปิโว. |
470 | 514 | ญาสฺส ชาชํนา. |
471 | 483 | ทิสสฺส ปสฺส ทิสฺส ทกฺขา วา. |
472 | 531 | พฺยญฺชนนฺตสฺส โจ ฉปฺปจฺจเยสุ จ. |
473 | 529 | โก เข จ. |
474 | 535 | หรสฺส คี เส. |
475 | 465 | พฺรูภูนมาหภูวา ปโรกฺขายํ. |
476 | 442 | คมิสฺสนฺโต จฺโฉ วา สพฺพาสุ. |
477 | 479 | วจสฺสชฺชตนิมฺหิ มกาโร โอ. |
478 | 438 | อกาโร ทีฆํ หิมิเมสุ. |
479 | 452 | หิ โลปํ วา. |
480 | 490 | โหติสฺสเรโหเห ภวิสฺสนฺติมฺหิ สฺสสฺส จ. |
481 | 524 | กรสฺส สปฺปจฺจยสฺส กาโห. |
อิติ อาขฺยาตกปฺเป ตติโย กณฺโฑ.
|
||
482 | 508 | ทาทนฺตสฺสํ มิเมสุ. |
483 | 527 | อสํโยคนฺตสฺส วุทฺธิ การิเต. |
484 | 542 | ฆฏาทีนํ วา. |
485 | 434 | อญฺเญสุ จ. |
486 | 543 | คุห ทุสานํ ทีฆํ. |
487 | 478 | วจ วส วหาทีนมุกาโร วสฺส เย. |
488 | 481 | หวิปริยโย โล วา. |
489 | 519 | คหสฺส เฆ ปฺเป. |
490 | 518 | หโลโป ณฺหามฺหิ. |
491 | 523 | กรสฺส กาสตฺตมชฺชตนิมฺหิ. |
492 | 499 | อสสฺมา มิมานํ มฺหิมฺหานฺตโลโป จ. |
493 | 498 | ถสฺส ตฺถตฺตํ. |
494 | 495 | ติสฺส ตฺถิตฺตํ. |
495 | 500 | ตุสฺส ตฺถุตฺตํ. |
496 | 497 | สิมฺหิ จ. |
497 | 477 | ลภสฺมา อีอึนํ ตฺถตฺถํ. |
498 | 480 | กุสสฺมา ที จฺฉิ. |
499 | 507 | ทาธาตุสฺส ทชฺชํ. |
500 | 486 | วทสฺส วชฺชํ. |
501 | 443 | คมิสฺส ฆมฺมํ. |
502 | 493 | ยมฺหิ ทา ธา มา ฐา หา ปา มห มถาทีนมี. |
503 | 485 | ยชสฺสาทิสฺสิ. |
504 | 470 | สพฺพโต อุํ อึสุ. |
505 | 482 | ชรมรานํ ชีร ชิยฺย มิยฺยา วา. |
506 | 496 | สพฺพตฺถาสสฺสาทิโลโป จ. |
507 | 501 | อสพฺพธาตุเก ภู. |
508 | 515 | เอยฺยสฺส ญาโต อิยา ญา. |
509 | 516 | นาสฺส โลโป ยการตฺตํ. |
510 | 487 | โลปญฺเจตฺตมกาโร. |
511 | 521 | อุตฺตโมกาโร. |
512 | 522 | กรสฺสากาโร จ. |
513 | 435 | โอ อว สเร. |
514 | 491 | เอ อย. |
515 | 541 | เต อาวายา การิเต. |
516 | 466 | อิการาคโม อสพฺพธาตุกมฺหิ. |
517 | 488 | กฺวจิ ธาตุวิภตฺติปจฺจยานํ ทีฆวิปรีตาเทสโลปาคมา จ. |
518 | 446 | อตฺตโนปทานิ ปรสฺสปทตฺตํ. |
519 | 457 | อการาคโม หิยฺยตฺตนี อชฺชตนี กาลาติปตฺตีสุ. |
520 | 502 | พฺรูโต อี ติมฺหิ. |
521 | 425 | ธาตุสฺสนฺโต โลโปเนกสฺสรสฺส. |
522 | 476 | อิสุยมูนมนฺโต จฺโฉ วา. |
523 | 526 | การิตานํ โณ โลปํ. |
อิติ อาขฺยาตกปฺเป จตุตฺโถ กณฺโฑ.
|
||
7. กิพฺพิธานกปฺโป | ||
524 | 561 | ธาตุยา กมฺมาทิมฺหิ โณ. |
525 | 565 | สญฺญายมนุ. |
526 | 567 | ปุเร ททา จ อึ. |
527 | 568 | สพฺพโต ณฺวุ ตฺวา วี วา. |
528 | 577 | วิส รุช ปทาทิโต ณ. |
529 | 580 | ภาเว จ. |
530 | 584 | กฺวิ จ. |
531 | 589 | ธราทีหิ รมฺโม. |
532 | 590 | ตสฺสีลาทีสุ ณี ตฺวาวี จ. |
533 | 591 | สทฺท กุธ จล มณฺฑตฺถ รุจาทีหิ ยุ. |
534 | 592 | ปาราทิคมิมฺหา รู. |
535 | 593 | ภิกฺขาทิโต จ. |
536 | 594 | หนตฺยาทีนํ ณุโก. |
537 | 566 | นุ นิคฺคหีตํ ปทนฺเต. |
538 | 595 | สํหนาญฺญาย วา โร โฆ. |
539 | 558 | รมฺหิ รนฺโต ราทิโน. |
540 | 545 | ภาวกมฺเมสุ ตพฺพานียา. |
541 | 552 | โณฺย จ. |
542 | 557 | กรมฺหา ริจฺจ. |
543 | 555 | ภูโตพฺพ. |
544 | 556 | วท มท คมุ ยุช ครหาการาทีหิ ชฺช มฺม คฺค เยฺหยฺยาคาโร วา. |
545 | 548 | เต กิจฺจา. |
546 | 562 | อญฺเญ กิตฺ. |
547 | 596 | นนฺทาทีหิ ยุ. |
548 | 597 | กตฺตุกรณปเทเสสุ จ. |
549 | 550 | รหาทิโต ณ. |
อิติ กิพฺพิธานกปฺเป ปฐโม กณฺโฑ.
|
||
550 | 546 | ณาทโย เตกาลิกา. |
551 | 598 | สญฺญายํ ทาธาโต อิ. |
552 | 609 | ติ กิจฺจาสิฏฺเฐ. |
553 | 599 | อิตฺถิยมติยโว วา. |
554 | 601 | กรโต ริริย. |
555 | 612 | อตีเต ต ตวนฺตุ ตาวี. |
556 | 622 | ภาวกมฺเมสุ ต. |
557 | 606 | พุธ คมาทิตฺเถ กตฺตริ. |
558 | 602 | ชิโต อิน สพฺพตฺถ. |
559 | 603 | สุปโต จ. |
560 | 604 | อีสํทุสูหิ ข. |
561 | 636 | อิจฺฉตฺเถสุ สมานกตฺตุเกสุ ตเว ตุํ วา. |
562 | 638 | อรหสกฺกาทีสุ จ. |
563 | 639 | ปตฺตวจเน อลมตฺเถสุ จ. |
564 | 640 | ปุพฺพกาเลกกตฺตุกานํ ตุน ตฺวาน ตฺวา วา. |
565 | 646 | วตฺตมาเน มานนฺตา. |
566 | 574 | สาสาทีหิ รตฺถุ. |
567 | 575 | ปาทิโต ริตุ. |
568 | 576 | มานาทีหิ ราตุ. |
569 | 610 | อาคมา ตุโก. |
570 | 611 | ภพฺเพ อิก. |
อิติ กิพฺพิธานกปฺเป ทุติโย กณฺโฑ.
|
||
571 | 624 | ปจฺจยาทนิฏฺฐา นิปาตนา สิชฺฌนฺติ. |
572 | 625 | สาสทิสโต ตสฺส ริฏฺโฐ จ. |
573 | 626 | สาทิ สนฺต ปุจฺฉ ภนฺช หํสาทีหิ ฏฺโฐ. |
574 | 613 | วสโต อุตฺถ. |
575 | 614 | วสฺส วา วุ. |
576 | 607 | ธ ฒ ภ เหหิ ธฒา จ. |
577 | 628 | ภนฺชโต คฺโค จ. |
578 | 560 | ภุชาทีนมนฺโต โน ทฺวิ จ. |
579 | 629 | วจ วา วุ. |
580 | 630 | คุปาทีนญฺจ. |
581 | 616 | ตราทีหิ อิณฺโณ. |
582 | 631 | ภิทาทิโต อินฺน อนฺน อีณา วา. |
583 | 617 | สุส ปจ สกโต กฺข กฺกา จ. |
584 | 618 | ปกฺกมาทีหิ นฺโต จ. |
585 | 619 | ชนาทีนมา ติมฺหิ จ. |
586 | 600 | คม ขน หน รมาทีนมนฺโต. |
587 | 632 | รกาโร จ. |
588 | 620 | ฐาปานมิอี จ. |
589 | 621 | หนฺเตหิ โห หสฺส โฬ วา อทหนหานํ. |
อิติ กิพฺพิธานกปฺเป ตติโย กณฺโฑ.
|
||
590 | 579 | ณมฺหิ รนฺชสฺส โช ภาวกรเณสุ. |
591 | 544 | หนสฺส ฆาโต. |
592 | 503 | วโธ วา สพฺพตฺถ. |
593 | 564 | อาการนฺตานมาโย. |
594 | 582 | ปุรสมุปปรีหิ กโรติสฺส ข ขรา วา ตปฺปจฺจเยสุ จ |
595 | 637 | ตเวตุนาทีสุ กา. |
596 | 551 | คมขนหนาทีนํ ตุํตพฺพาทีสุ น. |
597 | 641 | สพฺเพหิ ตุนาทีนํ โย. |
598 | 643 | จนนฺเตหิ รจฺจํ. |
599 | 644 | ทิสา สฺวานสฺวานฺตโลโป จ. |
600 | 645 | มหทเภหิ มฺม ยฺห ชฺช พฺภ ทฺธา จ. |
601 | 334 | ตทฺธิตสมาสกิตกา นามํวา ตเวตุนาทีสุ จ. |
602 | 6 | ทุมฺหิ ครุ. |
603 | 7 | ทีโฆ จ. |
604 | 684 | อกฺขเรหิ การ. |
605 | 547 | ยถาคมมิกาโร. |
606 | 642 | ทธนฺตโต โย กฺวจิ. |
อิติ กิพฺพิธานกปฺเป จตุตฺโถ กณฺโฑ.
|
||
607 | 578 | นิคฺคหีตํ สํโยคาทิ โน. |
608 | 623 | สพฺพตฺถ เค คี. |
609 | 484 | สทสฺส สีทตฺตํ. |
610 | 627 | ยชสฺส สรสฺสิ ฏฺเฐ. |
611 | 608 | หจตุตฺถานมนฺตานํ โท เธ. |
612 | 615 | โฑ ฒกาเร. |
613 | 583 | คหสฺส ฆร เณ วา. |
614 | 581 | ทหสฺส โท ฬํ. |
615 | 586 | ธาตฺวนฺตสฺส โลโป กฺวิมฺหิ. |
616 | 587 | วิทนฺเต อู. |
617 | 633 | น ม ก รานมนฺตานํ นิยุตฺตตมฺหิ. |
618 | 571 | น ก คตฺตํ จชา ณฺวุมฺหิ. |
619 | 573 | กรสฺส จ ตตฺตํ ตุสฺมึ. |
620 | 549 | ตุํตุนตพฺเพสุ วา. |
621 | 553 | การิตํ วิย ณานุพนฺโธ. |
622 | 570 | อนกา ยุ ณฺวูนํ. |
623 | 554 | กคา จชานํ. |
อิติ กิพฺพิธานกปฺเป ปญฺจโม กณฺโฑ.
|
||
8. อุณาทิกปฺโป |
||
624 | 563 | กตฺตริ กิตฺ. |
625 | 605 | ภาวกมฺเมสุ กิจฺจ กฺต ขตฺถา. |
626 | 634 | กมฺมนิ ทุติยายํ กฺโต. |
627 | 652 | ขฺยาทีหิ มนฺ ม จ โต วา. |
628 | 653 | สมาทีหิ ถมา. |
629 | 569 | คหสฺสุปธสฺเส วา. |
630 | 654 | มสุสฺส สุสฺส จฺฉรจฺเฉรา. |
631 | 655 | อาปุพฺพจรสฺส จ. |
632 | 656 | อล กล สเลหิ ลยา. |
633 | 657 | ยาณ ลาณา. |
634 | 658 | มถิสฺส ถสฺส โล จ. |
635 | 559 | เปสาติสคฺคปตฺตกาเลสุ กิจฺจา. |
636 | 659 | อวสฺสกาธมิเณสุ ณี จ. |
637 | 0 | อรหสกฺกาทีหิ ตุํ. |
638 | 660 | วชาทีหิ ปพฺพชฺชาทโย นิปจฺจนฺเต. |
639 | 585 | กฺวิ โลโป จ. |
640 | 0 | สจชานํ กคา ณานุพนฺเธ. |
641 | 572 | นุทาทีหิ ยุณฺวูนมนานนากานนกา สการิเตหิ จ. |
642 | 588 | อิ ย ต ม กิ เอสานมนฺตสฺสโร ทีฆํ กฺวจิ ทิสสฺส คุณํ โท รํ สกฺขี จ. |
643 | 635 | ภฺยาทีหิ มติ พุธิ ปูชาทีหิ จ กฺโต. |
644 | 661 | เวปุ สี ทว วมุ กุ ทา ภู หฺวาทีหิ ถุ ตฺติม ณิมา นิพฺพตฺเต. |
645 | 662 | อกฺโกเส นมฺหานิ. |
646 | 419 | เอกาทิโต สกิสฺส กฺขตฺตุํ. |
647 | 663 | สุนสฺสุนสฺโสณ วานุวานูนุนขุนานา. |
648 | 664 | ตรุณสฺส สุสุ จ. |
649 | 665 | ยุวสฺสุวสฺสุวุวานุนูนา. |
650 | 651 | กาเล วตฺตมานาตีเต ณฺวาทโย. |
651 | 647 | ภวิสฺสติ คมาทีหิ ณี ฆิณฺ. |
652 | 648 | กฺริยายํ ณฺวุตโว. |
653 | 307 | ภาววาจิมฺหิ จตุตฺถี. |
654 | 649 | กมฺมนิ โณ. |
655 | 650 | เสเส สฺสํ นฺตุ มานานา. |
656 | 666 | ฉทาทีหิ ตตฺรณฺ. |
657 | 667 | วทาทีหิ ณิตฺโต คเณ. |
658 | 668 | มิทาทีหิ ตฺติ ติโย. |
659 | 669 | อุสุรนฺชทํสานํ ทํสสฺส ทฑฺโฒ ฒ ฐา จ. |
660 | 670 | สูวุสานมูวุสานมโต โถ จ. |
661 | 671 | รนฺชุทาทีหิ ธทิทฺทกิรา กฺวจิ ชทโลโป จ. |
662 | 672 | ปฏิโต หิสฺส เหรณฺ หีรณฺ |
663 | 673 | กฑฺยาทีหิ โก. |
664 | 674 | ขาทามคมานํ ขนฺธนฺธคนฺธา. |
665 | 675 | ปฏาทีหฺยลํ. |
666 | 676 | ปุถสฺส ปุถุ ปถาโม วา. |
667 | 677 | สสฺวาทีหิ ตุ ทโว. |
668 | 678 | จฺยาทีหิ อีวโร. |
669 | 679 | มุนาทีหิ จิ. |
670 | 680 | วิทาทีหฺยูโร. |
671 | 681 | หนาทีหิ นุ ณุ ตโว. |
672 | 682 | กุฏาทีหิ โฐ. |
673 | 683 | มนุปูรสุณาทีหิ อุสฺสนุสิสา. |
อิติ กิพฺพิธานกปฺเป อุณาทิกปฺโป ฉฏฺโฐ กณฺโฑ. อุณาทิสุตฺตํ นิฏฺฐิตํ. กจฺจายนสุตฺตํ นิฏฺฐิตํ. |
||
ความคิดเห็น
เรียน ท่านผู้แต่ง
เรียน
ท่านผู้แต่ง คัมภีร์กัจจายนไวยากรณ์แปล
ดิฉันตามหา มูลกัจจายน์ ภาษาไทย อยู่ค่ะ จะนำไปเข้าสมุดของวัด
ไม่ทราบท่านพอจะมีข้อมูลบ้างมั้ยคะ
ขอขอบคุณค่ะ
jint2000@hotmail.com
ลองติดต่อทางสำนักที่สอนไวยากร
ลองติดต่อทางสำนักที่สอนไวยากรณ์ใหญ่ น่าจะมีอยู่
www.palidict.com/content/เว็บไซต์เกี่ยวกับบาลี
สูตร ที่ว่า มายูนมาคโม ฐาเน
สูตร ที่ว่า มายูนมาคโม ฐาเน แปลว่าอย่างไรครับ
ไม่มีท่านใดลงรายละเอียดหนังสื
ไม่มีท่านใดลงรายละเอียดหนังสือมูลกัจจายให้อ่านบ้างเลยหรือครับจักได้เป็นบุญอยากเรียนบ้างครับ
อยากทราบ อุปสัค ทั้ง ๓ ชนิด
อยากทราบ อุปสัค ทั้ง ๓ ชนิด ในบาลีใหญ่ มีชื่อเรียกว่าอย่างไร ผู้รู้ช่วยตอบที ที่ teentip@hotmail.com ขอบคุณล่วง
อุปสัคเบียดเบียนธาตุ, อุปสัคสังหารธาตุ, อุปสัคคล้อยตามธาตุ
นาริยํ สูตรสำเร็จคืออะไรครับ
นาริยํ สูตรสำเร็จคืออะไรครับ
ฆปโต สฺมึ ยํ วา
ฆปโต สฺมึ ยํ วา
๒,
๒, ๒.อกฺขราปาทโยเอกจตฺตาลีสํฯ
อาทโย [=อการาทโย]อ.วัณณะท. มี อ อักษรเป็นต้น เอกจตฺตาฬีสํ ๔๑ อกฺขรา ชื่อว่า อักษร อปิ นั่นเอง โหนฺติ ย่อมเป็น ฯ
เต จ โข อกฺขรา อปิอการาทโย เอกจตฺตาลีสํ สุตฺตนฺเตสุ โสปการาฯ
[วณฺณาอ.วัณณะ ท.]เอกจตฺตาฬีสํ๔๑ อการาทโย มีออักษรเป็นต้น [นิคฺคหีตนฺตา มีนิคคหิตเป็นที่สุด วุตฺตา อันท่านกล่าวแล้ว อิติ ว่า อกฺขรา อ.อักษร เหฏฺฅาวากฺเย ในสูตรก่อน]โสปการา ซึ่งมีอุปการะดี สุตฺตนฺเตสุ [=ติปิฏเกสุ]ในพระไตรปิฎก จ แม้ เต เหล่านั้น โข แล [โหนฺติ ย่อมมี นามา ชื่อว่า]อกฺขรา อักษร อปิ นั่นเอง.
ตํ ยถา? อ อา อิ อี อุ อู เอ โอ, ก ข ค ฆ ง, จ ฉ ช ฌ ญ, ฏ ฐ ฑ ฒณ, ต ถ ท ธ น, ป ผ พ ภ ม, ย ร ล ว ส ห ฬ อํ, อิติอกฺขรานามฯ
ตํ ยถา=เต อกฺขรา อ.อักขระ ท. เหล่านั้น กตเม เหล่าไหน ? วณฺณา อ.อักษร ท. อิเม เหล่านี้ อิติ คือ
อ อา อิ อี อุ อู เอ โอ , ก ข ค ฆ ง, จ ฉ ช ฌ ฃ, ฏ ฅ ฑ ฒณ, ต ถ ท ธ น, ป ผ พ ภ ม, ย ร ล ว ส ห ฬ อํ อ อา ... ฬ อํ นาม ชื่อว่า อกฺขรา อักษร โหนฺติ ย่อมเป็นฯ
เตน กฺวตฺโถ? อตฺโถ อกฺขรสญฺฃาโตฯ
อตฺโถอ.ประโยชน์ เตน [อกฺขรสฃฺฃากรเณนด้วยการกระทำซึ่งชื่อว่า อกฺขร]นั้นภวติ ย่อมมี กฺว [=กตรสฺมึ สุตฺเต]ในสูตรไหน ?
[โวหารปฺปโยชนํอ.ประโยชน์ในการเรียกชื่อ อิติ ว่า อกฺขร อกฺขร ภวติ ย่อมมี สุตฺเต ในสูตร อิติ ว่า] อตฺโถ อกฺขรสฃฺฃาโต อตฺโถ ..โต ดังนี้.
v
ความประสงค์ตั้งชื่อวัณณะ ๔๑ ตัว มี อ อา เป็นต้นดังที่ได้กล่าวมาแล้วในสูตรหน้านี้ว่า อกฺขร. อักษร ๔๑ ตัวนี้เท่านั้น ที่เหมาะสมกับพระชินพจน์. อักษรที่เกินกว่า ๔๑ ตัว (คือ ฤ ฤา ฦ ฦา ไ- เ- า ศ ษ ส ในคัมภีร์ฝ่ายสันสกฤต) นี้มิใช่พุทธพจน์.
คำอธิบายในตัวสูตร, วุตติและอุทาหรณ์
วากฺยในคำว่า เหฏฺฅาวากฺเย นี้ มีความหมายว่า สูตร. อนึ่ง สูตรมีชื่อเรียกหลายอย่าง คือ อารมฺภ, วจน, ปตฺติหรือวุตฺติ, ลกฺขณ, โยคลกฺขณีหรือโยค, สตฺถ, วากฺย ยตฺน เป็นต้น. ที่แปลนี้โดยนัยที่มาใน กัจจายนสุตตนิทเทส. อีกนัยหนึ่ง วณฺณา อ.วัณณะ ท. อการาทโย มี อเป็นต้น เต เหล่านั้น จ โข = เอวนั่นเทียว เอกจตฺตาฬีสํ [=เอกจตฺตาฬีสปฺปมาณา]มี ๔๑ ตัวเป็นประมาณ, อิมา วณฺณา อ.วัณณะ ท. เหล่านี้ อิติ คืออกฺขรา อักษร อปิ นั่นเอง โสปการา ซึ่งมีอุปการะดี สุตฺตนฺเตสุ ในสุตตันตะ คือ พระไตรปิฎก. มูลกัจจายนโยชนา
ตํ ยถานิบาต ในกัจ.โยชนา ว่าเป็น ภินฺนนิปาต นิบาตที่ไม่ได้รวมกัน มีอรรถว่า เต กตเม.
๑, ๑.อตฺโถ
๑, ๑.อตฺโถ อกฺขรสญฺญาโตฯ
อตฺโถอ.เนื้อความ อกฺขรสญฺญาโตอันบุคคลกำหนดได้ด้วยอักษร.
สพฺพวจนานมตฺโถ อกฺขเรเหว สญฺญายเตฯ อกฺขรวิปตฺติยํ หิ อตฺถสฺสทุนฺนยตา โหติ, ตสฺมา อกฺขรโกสลฺลํ พหูปการํ สุตฺตนฺเตสุฯ
อตฺโถอ.เนื้อความ สพฺพวจนานํ แห่งคำพูดทั้งปวง ท. สฃฺฃายเต อันบุคคลย่อมกำหนดได้ อกฺขเรหิ เอว ด้วยอักษร ท. นั่นเทียว. หิ เพราะว่า อกฺขรวิปตฺติยํ เมื่อความวิบัติแห่งอักษร สติ มีอยู่ ทุนฺนยตา = ทุฃฺฃาตาอ.ความที่ - อตฺถสฺส แห่งเนื้อความ - เป็นสภาพอันบุคคลรู้ได้โดยยาก โหติ ย่อมเป็น, ตสฺมา เพราะเหตุนั้น อกฺขรโกสลฺลํ อ. ความเป็นแห่งบุคคลผู้ฉลาดในอักษร พหูปการํ เป็นภาวะมีอุปการะมาก สุตฺตนฺเตสุ = ตีสุ ปิฎเกสุ ในปิฎก ท. ๓ โหติ ย่อมเป็นฯ(๑)
(๑) ความประสงค์ความรู้เรื่องอักษรเรียกว่า อกฺขรโกสลฺลญาณ ความรู้คือความเป็นผู้ฉลาดในอักษร. ในภาษาบาลีถือว่าความรู้ดังกล่าวนั้นเป็นเรื่องสำคัญ จึงจำเป็นต้องศึกษาคัมภีร์ไวยากรณ์นี้ เพื่อได้ความรู้นั้น.
คัมภีร์กัจจายนไวยากรณ์แปล
คัมภีร์กัจจายนไวยากรณ์แปล
ในเบื้องต้นนี้ขอชี้แจงแนวทางการแปลและจัดทำรูปแบบดังนี้
๑) คัมภีร์กัจจายนไวยากรณ์ฉบับแปลนี้ ข้าพเจ้าจัดทำขึ้นเพื่อเป็นคู่มือในการศึกษาคัมภีร์นี้ โดยมีวัตถุประสงค์ให้ผู้เริ่มเรียนได้เข้าใจกฏเกณฑ์ไวยากรณ์บาลีที่มาในคัมภีร์นี้เป็นส่วนมากเท่านั้น ดังนั้น กฎไวยากรณ์ที่ซับซ้อน ซึ่งปรากฏอยู่ในคัมภีร์ที่เป็นบริวารจึงมิได้นำมาลงประกอบไว้อย่างครบถ้วน
๒) ในส่วนที่เป็นคำแปล จะแปลแบบยกศัพท์คำต่อคำ โดยมีคำแปลแบบสัททัตถะ (โดยพยัญชนะ) เสียเป็นส่วนใหญ่ แต่บางครั้งจำเป็นต้องใช้สำนวนแปลแบบโวหารัตถะ (โดยอรรถ) และ แบบอธิปเปตัตถะ (โดยระบุถึงสิ่งที่ต้องการในที่นั้น) ก็จะแปลตามวิธีการนั้นๆ ตามสมควร เพื่อความเข้าใจที่ถูกต้องที่สุดหากมีบทที่ขาดไป เนื่องจากคัมภีร์จะกล่าวไว้โดยฐานะที่เข้าใจกันตามหลักการของรจนาคัมภีร์ โดยที่ผู้อ่านจะต้องเพิ่มเข้าไปเอง ที่เรียกว่า ปาฐเสสะ ก็จะนำส่วนนั้นมาเพิ่มเข้าไป โดยพยายามหามาจากคัมภีร์ชั้นฏีกาของกัจจายนะเช่น นฺยาสะ ปทรูปสิทธิ กัจจายนสุตตนิทเทสเป็นต้น โดยทำเป็นข้อความอยู่ใน [---]. ในส่วนที่เป็นคำอธิบายจะนำมาลงไว้ในภายหลังจากสูตรนั้นๆ โดยนำมาจากคัมภีร์ที่เป็นภาษาบาลีบ้าง หนังสือภาษาไทยที่อาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิได้จัดทำไว้และส่วนที่เป็นความคิดเห็นของผู้แปลจะลงนามกำกับไว้
๓) แนวทางการจัดทำคำอธิบายนั้น ยกเว้นแต่ที่เป็นคำอธิบายปาฐะที่มาในคัมภีร์นี้โดยตรง คำอธิบายระบบไวยากรณ์ เช่น คำศัพท์เฉพาะทางไวยากรณ์, ลักษณะของสูตรประเภทต่างๆ เป็นต้นที่ได้จากคัมภีร์ชั้นฏีกาของกัจจายนะมิได้นำมาลงไว้อย่างครบถ้วน เพราะเป็นคำอธิบายที่กว้างขวางโยงไปถึงเนื้อความที่ผู้ศึกษายังไม่เคยรู้มาก่อน จึงนำมาแต่เพียงที่เกี่ยวข้อง และจะนำมาลงไว้เป็นการเฉพาะในตอนท้ายๆของแต่กัณฑ์ และเมื่อผู้ศึกษาได้เข้าใจมีความคุ้นเคยกับระบบไวยากรณ์ดีแล้ว ในต่อไปจะใช้โวหารทางไวยากรณ์ให้มากขึ้นไปตามลำดับ ดังนั้น ในตอนต้นนี้ จึงมีคำอธิบายที่ไม่กว้างขวางเหมือนอย่างในคัมภีร์ที่อธิบายกัจจายนไวยากรณ์ระดับแนวหน้าเช่น คัมภีร์ปทรูปสิทธิเป็นต้น.ในส่วนของอุทาหรณ์ จะนำที่ปรากฏอยู่ในพระบาฬีมาประกอบให้ครบถ้วนที่สุดเพื่อแสดงการใช้ศัพท์นั้นๆทางไวยากรณ์ให้ตรงตามพุทธประสงค์.
๔) เนื่องจากเป็นคัมภีร์ฉบับทดลองแปลเพื่อใช้สอนเฉพาะนักศึกษา ความถูกต้องทั้งในส่วนของคำแปล คำอธิบาย จึงถือว่า ไม่สมบูรณ์สูงสุด ผู้แปลยินดีรับฟังข้อเสนอแนะและข้อคิดเห็นจากผู้อ่านและผู้ทรงคุณความรู้ทุกท่าน
ผู้แปล
๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๓
กจฺจายนพฺยากรณํ
๑. สนฺธิกปฺโป
ปฐมกณฺโฑ
กัจจายนไวยากรณ์
๑. สนธิกัป
กัณฑ์ที่ ๑
v
ปณามคาถา
ปณามคาถา อ.คาถาอันแสดงซึ่งการนอบน้อม
มยา อันเรา วุจฺจเต จะกล่าวฯ
(ก)
เสฏฺฐํติโลกมหิตํ อภิวนฺทิยคฺคํ
พุทฺธญฺจ ธมฺมมมลํ คณมุตฺตมญฺจ
สตฺถุสฺส ตสฺส วจนตฺถวรํ สุพุทฺธุ ํ
วกฺขามิ สุตฺตหิตเมตฺถ สุสนฺธิกปฺปํฯ
อหํอ.ข้าพเจ้า อภิวนฺทิย ถวายอภิวาทแล้ว พุทฺธํ ซึ่งพระพุทธเจ้า เสฏฺฐํ ผู้ประเสริฐ ติโลกมหิตํ ผู้อันชาวโลกสามบูชาแล้ว อคฺคํ ผู้เลิศ จ ด้วย [อภิวนฺทิย อภิวาทแล้ว]ธมฺมํ ซึ่งพระธรรม อมลํ ที่ปราศจากมลทิน จ ด้วย [อภิวนฺทิย อภิวาทแล้ว]คณํ ซึ่งหมู่ อุตฺตมํ อันสูงสุดจ ด้วย วกฺขามิ แล้วจักกล่าว สุสนฺธิกปฺปํ (๑) ซึ่งปกรณ์สนธิอันดี สุตฺตหิตํ ที่เกื้อกูลแก่สูตร [คือพระไตรปิฎก] สุพุทฺธุ เพื่อการเข้าใจด้วยดี วจนตฺถวรํ (๒) ซึ่งเนื้อความแห่งพระดำรัสอันประเสริฐ [พุทฺธสฺส แห่งพระพุทธเจ้า] ตสฺสพระองค์นั้นสตฺถุสฺส ผู้เป็นศาสดา [โลกสฺสของมนุษย์ สเทวกสฺส พร้อมด้วยเทวดา].
เอตฺถ [วจนตฺถวเร]บรรดาเนื้อความแห่งพระดำรัสอันประเสริฐนั้น–
(ข)
เสยฺยํ ชิเนริตนเยน พุธา ลภนฺติ
ตญฺจาปิ ตสฺส วจนตฺถสุโพธเนน
อตฺถญฺจ อกฺขรปเทสุ อโมหภาวา
เสยฺยตฺถิโก ปทมโต วิวิธํ สุเณยฺยํฯ
[ยํ เสยฺยํอ. โลกุตรธรรมอันประเสริฐ ใด อตฺถิ มีอยู่] พุธาอ.บุคคลผู้มีปัญญา ท. ลภนฺติ ย่อมได้ เสยฺยํ ซึ่งโลกุตรธรรมอันประเสริฐ [ตํนั้น] ชิเนริตนเยน โดยนัยอันพระชินเจ้าตรัสแล้ว, จ อนึ่ง ลภนฺติ ย่อมได้ ตํ อปิ แม้ซึ่งนัยอันพระชินเจ้าตรัสแล้วนั้น วจนตฺถสุโพธเนน โดยการเข้าใจด้วยดีซึ่งอรรถแห่งพระดำรัสอันประเสริฐ ตสฺส [สตฺถุสฺส]ของพระศาสดาพระองค์นั้น. ลภนฺติ ย่อมได้ อตฺถํ ซึ่งเนื้อความ จ ด้วย อโมหภาวา เพราะความไม่โง่งม อกฺขรปเทสุ ในอักขระและบท ท. , อโต= [ตสฺมาปฏิวิชฺฌนการณา] เพราะเหตุคือการแทงตลอดนั้น เสยฺยตฺถิโก อ.กุลบุตรผู้มีความต้องการด้วยโลกุตรธรรมอันประเสริฐ สุเณยฺยํ พึงสดับ [อกฺขรปทํซึ่งอักขระและบท]วิวิธํ มีประการต่างๆ เถิด.
v
(๑) สุสนฺธิกปฺป กัปปะคือปกรณ์แห่งสนธิที่ดี ตัดเป็น สุ + สนธิ + กปฺป. สุ ได้แก่ ดี คือ ไม่ย่อและไม่พิสดารเกิน (กัจจายนสุตตนิเทส). สนฺธิ ได้แก่ การสืบต่อกันดีไม่ปรากฏช่องว่างระหว่างบท, กปฺป ได้แก่ ปกรณ์ หนังสือเป็นที่อาจารย์จัดคือแบ่งเนื้อความ (นยาสฏีกา). คำว่า “สุสนธิ”นี้เป็นชื่อของคัมภีร์กัจจายนะโดยสามัญญนาม เรียกว่า อาทิลัทธนาม คือนำกัปป์ที่ ๑ ของคัมภีร์นี้ มาตั้งชื่อ เช่นเดียวกับคัมภีร์ปาราชิกกัณฑ์ ซึ่งเป็นคัมภีร์ที่ ๑ ของวินัยปิฎก ที่นำปาราชิกกัณฑ์ที่ ๑ มาตั้งชื่อ. อีกนัยหนึ่ง ชื่อว่า “สุสนธิ”เป็นวิเสสนาม เพราะใช้ได้เฉพาะสนธิกัป และชื่อว่า “กัจจายนะ”เป็นสามัญญนาม เพราะทั่วไปแก่ทุกกัปป์ในคัมภีร์นี้ (นยาส).
(๒) อตฺถ ในคำว่า วจนตฺถวร นี้ ได้แก่ เนื้อความ ๒ อย่าง คือ โลกียะและโลกุตระ อันเป็นเหตุแห่งตันติกล่าวคือมรรคที่ประหานกิเลส. หมายความว่า เนื้อความของพระดำรัสที่เป็นทั้งโลกียะและโลกุตระ ย่อมเป็นเหตุให้ละกิเลสได้ทั้งสิ้น (นยาสและนยาสฏีกา)
วธู สำเร็จมาจากสูตรอะไรครับ
วธู สำเร็จมาจากสูตรอะไรครับ
แสดงความคิดเห็น